กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย รหัส กปท. L3351

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วตำบลเพื่อควบคุมโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำแบบบูรณาการ
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว
กลุ่มคน
นายเอนก กลิ่นรส ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งยาว
3.
หลักการและเหตุผล

งานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรค มีความสำคัญต่อระบบการป้องกันควบคุมโรคของประเทศ เขตจังหวัดและตำบล โดยทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เป็นทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วประจำหน่วยงานสาธารณสุขที่มีพื้นที่รับผิดชอบในด้านการป้องกัน ควบคุมโรคซึ่่งในด้านสมรรถนะบุคลากรเคยมีคำกล่าวว่า “เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนต้องใช้ระบาดวิทยาในการปฏิบัติงาน” แต่ในด้านสมรรถนะขององค์กร อาจกล่าวได้ว่า “หน่วยงานที่มีหน้าที่ป้องกันควบคุมโรคและภัยทุกหน่วยงาน ต้องมีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team หรือSRRT)” เนื่องจาก ปัญหาภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health emergency) ที่มากขึ้นทั้งในด้านความถี่ ขนาด และความรุนแรง รวมถึงขีดความสามารถในการแพร่กระจายปัญหาไปยังพื้นที่อื่น ๆ ทุกพื้นที่จึงจำเป็นต้องมีทีมงานรับผิดชอบในการเฝ้าระวังปัญหา และสามารถตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยหากพื้นที่ใดที่มีทีม SRRT ไม่เข้มแข็งจะเป็นจุดอ่อนของการป้องกันควบคุมโรคและอาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้โรคทวีความรุนแรงขึ้นได้ ในปี 2564 ศูนย์ระบาดวิทยาได้ให้ความสำคัญในการทำงานด้านระบาดวิทยาและ SRRT มีการสนับสนุนและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการประเมินผลการทำงานใน ปีงบประมาณ 2565 พบว่ามีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และหน่วยงานภาพรวมของอำเภอหลายที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน SRRTอีกทั้ง จากข้อมูลโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาทั้งระดับประเทศเขต จังหวัด อำเภอตำบล พบว่าในปี 2563 มีโรคที่ก่อให้เกิดความรุนแรงหลายโรค อาจส่งผลไปถึงปี 2565 เพราะเชื้อโรคมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะกลุ่ม โรคอุบัติใหม่/ซ้ำ อีกทั้ง ยังมีโรคประจำถิ่น เช่น ไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบทำให้เกิดภัยคุกคามสุขภาพประชาชน สังคม เศรษฐกิจโดยรวม และอาจจะทวีความรุนแรงขึ้นจากปัญหาการพบโรคที่รุนแรงและซับซ้อน ตลอดจนมีแนวโน้มที่บางปัญหาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เช่นปัญหาโรคไข้เลือดออกโควิด - 19 ไข้สมองอักเสบ ชิกุนกุนยา ซิก้า อหิวาตกโรค และโรคอุบัติใหม่อื่น ๆ จึงมีความจำเป็นต้องเตรียมพร้อมทุกด้าน ทั้งระบบเฝ้าระวัง การซักซ้อมแผน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้รับผิดชอบ เพิ่มองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวัง ระบบข่าวกรอง การสอบสวนโรค ให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐานและมีคุณภาพ รวมทั้งมีการศึกษาวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหาให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อลดอัตราป่วย อัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อต่าง ๆ มีทีมงานการเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ในลักษณะภาคีที่ชัดเจนมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวได้ให้ความสำคัญใน การพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพของทีม SRRT ที่จะทำให้ทีมมีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดให้มีการอบรมในครั้งนี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วมีความรู้และปฏิบัติงานได้อย่างประสิทธิภาพทุกคน
    ตัวชี้วัด : ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และปฏิบัติงานได้อย่างประสิทธิภาพทุกคน
    ขนาดปัญหา 32.00 เป้าหมาย 60.00
  • 2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในพื้นที่ตำบลโคกชะงาย และควบคุมโรคตามหลักการและขั้นตอน ถูกต้อง เหมาะสม (ต่อพัน)
    ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำในพื้นที่ตำบลโคกชะงายลดลง และควบคุมโรคตามหลักการและขั้นตอน ถูกต้อง เหมาะสม
    ขนาดปัญหา 5.71 เป้าหมาย 2.11
  • 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 75 ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 75 ต่อแสนประชากรและอัตราป่วยด้วยโรคโควิด 19 ไม่เกิน 2.11
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อลดอัตราป่วยใหม่ด้วยโรคโควิด 19 ไม่เกิน ร้อยละ 2.11
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคโควิด 19 ไม่เกิน ร้อยละ 2.11
    ขนาดปัญหา 5.71 เป้าหมาย 2.11
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. วัสดุอุปกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข
    รายละเอียด
    • ทรายอะเบท 1 ถัง ๆ ละ 4,500 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
    • สารเคมีพ่นยุง ULV จำนวน 1 ลิตร ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    • ค่าถ่ายเอกสารประกอบการคัดกรองโรควัณโรคจำนวน 895 ชุด ๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 1,790 บาท
    • เครื่องวัดอุณหภูมิแบบขาตั้ง 3 เครื่อง ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
    งบประมาณ 4,990.00 บาท
  • 2. อบรมพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การตรวจ ATK)
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรม จำนวน 60 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าอบรม จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    งบประมาณ 9,600.00 บาท
  • 3. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
    รายละเอียด
    • ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. พ่นหมอกควันทำลายยุงลายตัวเต็มวัย (กรณีเกิดโรคไข้เลือดออก)
    รายละเอียด
    • พ่นหมอกควันทำลายยุงลายตัวเต็มวัย (กรณีเกิดโรคไข้เลือดออก)
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. คัดกรองวัณโรค
    รายละเอียด
    • คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง
    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 29 กรกฎาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1, 7 , 9 ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 14,590.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว มีความรู้ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • ไม่มีอัตราการป่วยด้วยโรคอุบัติใหม่
  • เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่
  • ทุกครัวเรือนมีการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
  • ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ็HI = 0 CI =0
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย รหัส กปท. L3351

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย รหัส กปท. L3351

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 14,590.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................