กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม.ปลอดภัยสมุนไพรไทยต้านภัยโควิด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด

รพ.สต.แหลมโตนด

ม.1-ม.9 ต.แหลมโตนด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้

 

125.00

จากสถานการณ์ปัจจุบันของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง เชิงรุกในพื้นที่ โดยมีอสม. เป็นแนวหน้าในการดูแลคัดกรองกลุ่มเสี่ยง การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่แพร่กระจายได้ง่าย และร้ายแรง บางรายอาจส่งผลกระทบต่อปอดของผู้ป่วย การแพร่กระจายเกิดจากสารคัดหลั่งที่มีอนุภาคขนาดเล็ก ที่เป็นละออกฝอย เช่น การพูด สัมผัส ไอ และจาม ซึ่งวิธีการป้องกันจากเชื้อไวรัส คือ การรับวัคซีน การเว้นระยะห่าง การสวมแมสก์ ล้างมือบ่อยๆ และพกเจลแอลกอฮอล์ ในเพื่อการลดความเสี่ยงของโรคปอดอักเสบของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการ ที่สำคัญคือ ในการดูแลตัวเอง คือพักผ่อนให้เพียงพอ และหลีกเลี่ยงที่จะอยู่ใกล้ชิดหรือสัมผัสกับผู้ป่วยเป็นไข้หวัดหรือเริ่มมีอาการไข้หวัด ควรล้างมือสม่ำเสมอเพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย การดูแลตัวเองให้แข็งแรง โดยทานอาหารที่มีประโยชน์ และออกกำลังเป็นประจำ ก็จะช่วยลดความเสี่ยงของโรคปอดอักเสบได้อีกทางหนึ่ง
สมุนไพรไทยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกหนึ่งของการบำรุงรักษาปอดของเราให้แข็งแรงและห่างไกลจากโรคปอด ทางงานการแพทย์แผนไทย รพ.สต.แหลมโตนด จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแล อสม. ในเขตพื้นที่ตำบลแหลมโตนด ให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญในการดูแลประชาชนในพื้นที่แหลมโตนดต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ป้องกัน และดูแลสุขภาพตนเอง จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

จำนวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ป้องกัน และดูแลสุขภาพตนเอง จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 125

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดซื้อสมุนไพรเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อสมุนไพรเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.  ค่าจัดทำเอกสาร วิธีการรับประทานยาสมุนไพรตรีผลา แผ่นละ ๒ บาท ( หน้า-หลัง) x 125 แผ่น เป็นเงิน ๒๕๐ บาท ๒.  ค่ายาสมุนไพรตรีผลา  ๖,๒๕๐ บาท          รวมเป็นเงิน ๖,๕๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีสมุนไพรใช้สร้างเสริมภูมิคุ้มกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6500.00

กิจกรรมที่ 2 จัดให้มีมุมสุขภาพสมุนไพรป้องกันโรค COVID-19 ให้สาระความรู้เกี่ยวกับพืชผักสมุนไพรที่มีศักยภาพในการป้องกันโรค COVID-19

ชื่อกิจกรรม
จัดให้มีมุมสุขภาพสมุนไพรป้องกันโรค COVID-19 ให้สาระความรู้เกี่ยวกับพืชผักสมุนไพรที่มีศักยภาพในการป้องกันโรค COVID-19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดมุมสมุนไพรป้องกันโรค COVID-19

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีมุมสมุนไพรใน รพ.สต.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

อสม.สามารถดูแลและเฝ้าระวังตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)


>