กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านเขาหลัก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

โรงเรียนบ้านเขาหลัก

โรงเรียนบ้านเขาหลัก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี2564 เมื่อวันที่ 2

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
  1. ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
70.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 8
กลุ่มวัยทำงาน 8
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2022

กำหนดเสร็จ 31/03/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครู ในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครู ในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าแอลกอฮอล์ ขนาด 5  ลิตร  จำนวน  2  แกลลอนๆละ 600  บาท เป็นเงิน 1,200  บาท
  2. ค่าชุดตรวจโควิด-19 ด้วยตนเอง หรือ ATK  จำนวน 31 ชุดๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 2,480 บาท
  3. ค่าหน้ากากอนามัย จำนวน 14 กล่องๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1,680 บาท 4.ค่าชุด PPE จำนวน 12 ชุดๆ ละ 180 บาท เป็นเงิน 2,160บาท
  4. ค่าน้ำยาฆ่าเชื้อ ขนาด 1 ลิตร  จำนวน 1แกลลอนๆละ 1,500  บาท เป็นเงิน  1,500  บาท
  5. ถุงมือยางป้องกันเชื้อโรค จำนวน 1 กล่องๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 200 บาท 7.ค่าหมวกตัวหนอน 100 ชิ้น/แพค จำนวน 1  แพคๆละ 150  บาท 8.ถุงขยะแดงขนาด 18x 20 นิ้ว จำนวน 1  แพ็คๆละ 75  บาท  เป็นเงิน 75  บาท 9.สบู่เหลวล้างมือ ขนาด 500 ML จำนวน 15 ขวดๆละ 50  บาท  เป็นเงิน 750  บาท
  6. ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิแบบฝ่ามือจ่ายเจลอัตโนมัติพร้อมขาตั้ง จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 2,200 บาท เป็นเงิน 2,200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนและบุคคลากรได้รับการตรวจคัดกรองทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12395.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ การป้องกันโรคโควิด-19  ขนาด 1.20x2.40 เมตร  จำนวน 2 แผ่นๆและ 374  บาท  เป็นเงิน 748  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนและบุคคลากรได้รับความรู้ทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
748.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,143.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ครู นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน ได้รับการ คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATKเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
2. ครู นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน ได้รับความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคโควิด-19 สามารถลดการแพร่ระบาดในพื้นที่


>