กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ "สุขาสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการทุพพลภาพตำบลบ้านกลาง"

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข

5

ในชุมชนตำบลบ้านกลาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เนื่องด้วยปัจจุบัน การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ มีแน้วโน้มเพิ่มมากขึ้น และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคปวดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อ

 

3.00

เนื่องด้วยปัจจุบัน การเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และโรคที่มีการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่นโรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน โรคปวดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดความพิการได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษา ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้สูงอายุเป็นวัยที่ความที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพกาย การจัดระบบการดูแล เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าว มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแล และผู้ป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาพอที่จะมาดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลหวังมีหน้าที่ดูแลน้อยลง สร้างสุขาอยู่ใกล้ๆกับผู้ป่วย ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในบางส่วน ทำให้ผู้ดูแลลดความเหนื่อยได้บางเวลา และหวังให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลมีความสุขด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลางได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการ “สุขาสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลบ้านกลางประจำปีงบประมาณ2564”

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับความสะดวกสบายในการใช้สุขาและง่ายต่อการใช้งาน 3. เพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ใน สังคมอย่างมีคุณค่า

ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 80

3.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 18
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/01/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ และลงพื้นที่สำรวจ ปฏิบัติก่อสร้าง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ และลงพื้นที่สำรวจ ปฏิบัติก่อสร้าง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขอรับเงินอุดหนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง เป็นเงินทั้งสิ้น  142,210.-บาท (หนึ่งแสนสี่หมื่นสองพันแปดสองร้อยสิบบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังนี้ ลำดับที่    รายการ  งบประมาณ 1  ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 เมตร x 2.5 เมตร x 250 บาท     เป็นเงิน 750.- บาท 2  ค่าอาหารกลางวัน พร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม เจ้าหน้าที่โครงการ/คณะกรรมการ สปสช. จำนวน 25 คนๆละ 50 บาท 1 มื้อ  เป็นเงิน 1,250.- บาท 3  ค่าอาหารว่าง พร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม เจ้าหน้าที่โครงการ/คณะกรรมการ สปสช. จำนวน 25 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,250.- บาท 3  ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 3  ชั่วโมงๆละ 600 บาท    เป็นเงิน 1,800.- บาท 4  ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ จำนวน 18 หลัง      - โถนั่งยอง
     - ปูนซีเมนต์      - ทรายหยาบ      - อิฐบล๊อค      - เหล็ก ø 6 ซม.      - ลวดผูกเหล็ก      - ไม้แบบ      - ท่อ PVC ø 4"      - ข้องอ ø 4"      - ท่อ PVC ø 1"      - ข้องอ PVC ขนาด 1"      - ท่อซีเมนต์ ø .80 ม.      - ฝาปิดท่อซีเมนต์             เป็นเงิน  92,160.- บาท 5  ค่าแรง หลังละ 2,500 บาท จำนวน 18 หลัง    เป็นเงิน  45,000.- บาท     รวม 142,210.- บาท

จำนวน 18 หลัง เป็นเงินทั้งสิ้น 142,210.- บาทถ้วน

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน 2 ผู้ดูแลมีเวลาให้กับตัวเองมากขึ้น 3 ผู้สูงอายุ ได้รับความสะดวกสบายในการใช้สุขา และง่ายต่อการใช้งาน ถูกหลักอนามัยที่ดี 4 ผู้สูงอายุมีขวัญและกำลังใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
142210.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 142,210.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน
2 ผู้ดูแลมีเวลาให้กับตัวเองมากขึ้น
3 ผู้สูงอายุ ได้รับความสะดวกสบายในการใช้สุขา และง่ายต่อการใช้งาน ถูกหลักอนามัยที่ดี
4 ผู้สูงอายุมีขวัญและกำลังใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ใน สังคมอย่างมีคุณค่า


>