กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการโยคะยืดเหยียด ลดภาวะออฟฟิศซินโดรม
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์
กลุ่มคน
1. นางอรวรรณ วัฒนกุล ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทร. 081 767 4862
3.
หลักการและเหตุผล

การทำงานที่ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ รวมถึงการนั่งทำงานในสำนักงาน เป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้เปลี่ยนอิริยาบถส่งผลต่อความเจ็บป่วยทางร่างกายโดยไม่รู้ตัว อาทิ ปวดตา ตาแห้ง ปวดหลัง ปวดคอ ปวดแขน ปวดร้าวไปทั้งต้นขา เป็นต้น จนต้องไปพบแพทย์หรือนักกายภาพบำบัดเพื่อรักษาและบำบัด ซึ่งนอกจากใช้เวลานานพอควรกว่าร่างกายจะกลับคืนสู่สภาพเดิมแล้วยังทำให้เสียเวลา และเสียเงินทองอีกด้วย


การนั่งทำงานเป็นเวลานานๆ ส่งผลถึงการเผาผลาญของร่างกายลดลง น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น การรับประทานอาหารที่เร่งรีบ ทำให้ทานอาหารได้ปริมาณมาก ส่งผลต่อน้ำหนักตัว รอบเอว ข้อเข่า อาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณต่างๆของร่ายกาย

ด้วยเหตุที่โยคะ สามารถเรียนรู้และฝึกฝนด้วยตนเองได้เพราะเป็นศาสตร์ที่เชื่อมโยงระหว่างร่างกายและจิตใจเข้าด้วยกัน จนนำไปสู่สมาธิได้ และเป็นเครื่องมือที่ผู้ที่ฝึกฝนจะสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง และนำไปถ่ายทอดสอนผู้อื่นต่อได้ด้วย


โยคะ (Yoga) ภาษาสันสกฤตมีหลายความหมายซึ่งเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมความคือ “ความอุตสาหะ ความบากบั่นการเชื่อมกันความสัมพันธ์สมาธิ” โยคะถือกำเนิดในประเทศอินเดียก่อนสมัยพระเวทประมาณ 2000 และ1000 ปีก่อนคริสต์ศักราช (ปัจจุบัน คือส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน)โยคะได้พัฒนาอย่างเป็นระบบมีหลายสำนัก การฝึกปฏิบัติ และเป้าหมายที่หลากหลายทั้งในศาสนาฮินดู พุทธ และเชน แต่ลำดับการเขียนเป็นตำราโยคะไม่ชัดเจน จนนักปราชญ์ชาวฮินดูคนหนึ่งชื่อว่า ปตัญชลี เป็นคนแรกที่ปรับปรุงการฝึกโยคะขั้นพื้นฐาน เขาเขียนสูตรของการฝึกโยคะเป็นหัวข้อ 8 หัวข้อสั้นๆ หัวข้อเหล่านี้เชื่อว่าได้ถูกเขียนขึ้นเมื่อ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยผู้ที่ปฏิบัติโยคะที่เป็นผู้ชายเรียกว่า โยคิน หรือ โยคี ส่วนผู้หญิงเรียกว่า โยคินี ส่วนผู้สอนเรียกว่า คุรุ (ครู) การฝึกโยคะจะเน้นความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกระดูกสันหลังทำให้เลือด และสารอาหารไปเลี้ยงประสาทไขสันหลังเพิ่ม การฝึกโยคะจะทำให้การทำงานของต่อมต่างๆ รวมทั้งต่อมไร้ท่อทำงานดีขึ้น ท่าของการฝึกโยคะเป็นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อตามแบบของโยคะ และมีการสอดคล้องกับการหายใจเป็นการรวมกาย และจิตร่วมกัน การฝึกท่าโยคะจะเป็นการฝึกประสาท ความยืดหยุ่น ความแข็งแรง การทรงตัว ลดความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อ คลายความเครียด ซึ่งจะส่งผลให้สุขภาพจิต และสุขภาพกายดีขึ้น


ในปัจจุบัน ผู้คนทั่วโลกต่างให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น โยคะจึงเป็นศาสตร์องค์รวมสามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อบรรเทาความอ่อนล้าและความเจ็บปวดจากการนั่งทำงานเป็นเวลานานๆ ได้ อีกทั้งยังช่วยทำให้ท่านมีพลังในการทำงานมากขึ้นหากได้รับการเรียนรู้อย่างถูกหลักวิชาการและนำไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดอาการออฟฟิคซินโดรมในวัยทำงาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของสมาชิกที่มีอาการออฟฟิศซินโดรมลดลง
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 30.00
  • 2. เพื่อให้สมาชิกในโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตัวองเรื่องการรับประทานอาหารแบบ IF /Keto
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของสมาชิกในโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตัวองเรื่องการรับประทานอาหารแบบ IF /Ketoและสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. เพื่อลดความเสี่ยงของโรคเรื้อรังในวัยทำงาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของสมาชิกในโครงการมีความเสี่ยงในโรคเรื้อรังลดลง (จากค่า มวลกระดูก BMI การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์)
    ขนาดปัญหา 70.00 เป้าหมาย 30.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ให้ความรู้เรื่องศาสตร์โยคะเพื่อบำบัดออฟฟิคซินโดรม การรับประทานอาหารแบบ IF/Keto
    รายละเอียด
    • ประชาสัมพันธ์เรื่องโครงการพร้อมเปิดรับสมัครเข้าโครงการ
    • ตรวจสุขภาพเพื่อคัดเลือกผู้มีภาวะออฟฟิคซินโดรม
    • สมาชิกที่ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการอบรมความรู้ในเรื่องการดูแลตัวเองในศาสตร์โยคะบำบัดและการควบคุมอาหาร
      การรับประทานอาหารแบบ IF/Keto

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน x 600 บาท x 3 ชั่วโมง
    เป็นเงิน 3,600 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน x 25 บาท x 1 มื้อ
    เป็นเงิน 500 บาท
    3. ค่าไวนิล จำนวน 1 ผืน ขนาด 1.5 x 2 เมตร x 150 บาท
    เป็นเงิน 450 บาท

    งบประมาณ 4,550.00 บาท
  • 2. โยคะยืดเหยียดลดออฟฟิคซินโดรม
    รายละเอียด
    • ออกกำลังกายโดยศาสตร์โยคะบำบัดแบบยืดเหยียดเพื่อลดภาวะออฟฟิคซินโดรมโดยครูโยคะทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 18.00-19.00 น.
      ณ หน่วยบริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองคอหงส์ (บ้านคลองเตย)
    • ประเมินภาวะออฟฟิคซินโดรม มวลกระดูก ค่าBMI ทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าตอบแทนผู้นำออกกำลังกาย (ครูสอนโยคะ) จำนวน 1 คน x 300 บาท x 3 ครั้ง/สัปดาห์ x 4 สัปดาห์/เดือน x 6 เดือน
    เป็นเงิน 21,600 บาท
    2. ค่าหน้ากากอนามัย จำนวน 10 กล่อง (50ชิ้น) x 125 บาท
    เป็นเงิน 1,250 บาท
    3. เจลแอลกอฮอล์ (500 ml) จำนวน 10 ขวด x 50 บาท
    เป็นเงิน 500 บาท
    4. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 24,350.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 28,900.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. สมาชิกในโครงการมีภาวะออฟฟิคซินโดรม ลดลง
  2. สมาชิกในโครงการมีมวลกระดูกที่เพิ่มขึ้น
  3. สมาชิกในโครงการมีค่า BMI ลดลง
  4. สมาชิกในโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฏิบัติดูแลตัวเองที่สำนักงาน ที่บ้านได้ถูกต้อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 28,900.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................