กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุก ในชุมชนบ้านคลองเปล 3 ปี 2565
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
คณะกรรมการชุมชนบ้านคลองเปล 3
กลุ่มคน
1. นายอิสระ ขวัญทอง โทร 086-968-8660
2. นายจิต บ่อทรัพย์
3. นางสาวพัชนี เพ็ชรแก้ว
4. นางสุคนธ์ นิลสุวรรณ
5. นางอุทิศ ดวงสุวรรณ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ รวมทั้งยังเป็นโรคที่เราเรียกว่า “ภัยเงียบ” ที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต ตามมา ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้มีการจัดการดูแลสุขภาพเชิงรุก โดยการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังสภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ สำหรับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พร้อมทั้งให้ดำเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนในอวัยวะที่สำคัญของร่างกายหลายระบบ เช่น ตา ไต หัวใจ เท้า เป็นต้น

จาก การดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ของชุมชนคลองเปล 3 ซึ่งมีประชาชนในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 463 คนในปี 2564 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 60.47 ผลการคัดกรองปกติ จำนวน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 73.21 อยู่ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 35 คนคิดเป็นร้อยละ 12.50 กลุ่มสงสัยป่วย 7 คน คิดเป็นร้อยละ 2.50 กลุ่มป่วย 33 คน คิดเป็น 7.12 และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 60.47 ผลการคัดกรองปกติ 179 คนคิดเป็นร้อยละ 63.93 อยู่ในกลุ่มเสี่ยง 87 คน คิดเป็นร้อยละ 31.07 กลุ่มสงสัยป่วย 14 คนคิดเป็นร้อยละ 5.4 กลุ่มป่วย 46 คน คิดเป็นร้อยละ 9.93ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มต่อการเพิ่มขึ้น เนื่องจากวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มและอาหารจานด่วนของคนในชุมชนบ้านคลองเปล 3ซึ่งเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท มีสถานที่จำหน่ายอาหารที่หาได้ง่าย จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ร้อยละ 75 ไม่ออกกำลังกาย ร้อยละ 65 มีการดื่มสุรา ร้อยละ 32 และสูบบุหรี่ ร้อยละ 35 ส่วนใหญ่นิยมรับประทานอาการแกงถุง อาหารนอกบ้าน และมีงานเทศกาลต่างๆ มากกมาย ทำให้ไม่มีเวลาในการออกกำลังกาย หรือดูแลตนเองไม่มีการคำนึงถึงพลังงานที่ควรได้รับ ส่งผลให้มีการสะสมไขมัน เกิดภาวะอ้วนลงพุงเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามมา และในปี 2564 ได้ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงไปแล้วทั้งหมด 30 คน พบว่า กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหารที่ดีขึ้น ร้อยละ 25 มีน้ำหนักลดลง ร้อยละ 40 มีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 มีระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่ในภาวะปกติเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15 มีการควบคุมริดับความดันโลหิตให้ดีขึ้น ร้อยละ 30 ซึ่งถือว่าเป็นโครงการที่ดีต่อประชาชนในพื้นที่

จากข้อมูลดังกล่าว ของชุมชนบ้านคลองเปล 3 ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พบว่าจำนวนกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มสูงขึ้นทั้งนี้เป็นผลจากการคัดกรองได้ครอบคลุมมากขึ้นแต่ขณะเดียวกัน หากผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคจากผลการคัดกรองไม่ตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทำให้แนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น และเมื่อมีความเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประชาชนเกิดความเครียด ซึ่งจะสามารถนำไปสู่การเจ็บป่วยทางด้านจิตใจได้ในอนาคต และในกลุ่มที่ป่วยแล้วต้องมีการดำเนินการไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อไปจึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเฝ้าระวังผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนบ้านคลองเปล 3 ปี 2565 ซึ่งมีกิจกรรมหลักในการคัดกรองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและเพิ่มทักษะการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี สำหรับกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปให้สามารถดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และในกลุ่มที่เป็นโรคได้รับการดูแลและรักษาได้อย่างทันท่วงทีและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อเป็นการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
    ขนาดปัญหา 12.50 เป้าหมาย 9.25
  • 2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
    ขนาดปัญหา 31.07 เป้าหมาย 21.82
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงาน
    รายละเอียด
    • ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย และรูปแบบวิธีการดำเนินงาน

    ค่าใช้จ่าย
    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    จำนวน 20 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท

    งบประมาณ 500.00 บาท
  • 2. จัดหาวัสดุในการดำเนินงาน
    รายละเอียด
    • จัดหาวัสดุในการดำเนินงาน

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด (50ชิ้น/กล่อง) จำนวน 3 กล่อง x 800 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
    2. ค่าเข็มเจาะเลือด (200ชิ้น/กล่อง) จำนวน 1 กล่อง x 800 บาท เป็นเงิน 800 บาท
    3. ค่าสำลีแห้ง จำนวน 1 ถุง x 100 บาท เป็นเงิน 100 บาท
    4. ค่าแอลกอฮอล์ จำนวน 2 ขวด x 50 บาท เป็นเงิน 100 บาท
    5. ค่าสมุดบันทึกตรวจสุขภาพและบันทึกความรู้ 3 อ. 2 ส. จำนวน 30 เล่ม x 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท
    6. ค่าวงล้อประเมินสุขภาพ จำนวน 1 ชุด x 1,500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

    งบประมาณ 5,500.00 บาท
  • 3. เฝ้าระวังและติดตามกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    รายละเอียด
    • ประชาสัมพันธ์กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการฯ โดยแยกเป็นรายชุมชน และแยกเป็นกลุ่มย่อย ตามแผนปฏิบัติงาน

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าแผ่นพับประชาสัมพันธ์ จำนวน 30 ใบ x 5 บาท เป็นเงิน 150 บาท

    งบประมาณ 150.00 บาท
  • 4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    รายละเอียด
    • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา (3 อ. 2 ส.) สำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    • การให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    • การเจาะเลือดปลายนิ้วหาค่าน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูง ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง/วัดรอบเอว/การประเมินความเครียดด้วยตนเอง/การคัดกรองภาวะซึมเศร้า พร้อมแจ้งผลให้ทราบ

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท
    2. ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
    3. ค่าไวนิล จำนวน1 ผืน x ขนาด 2 x 1.5 เมตร x 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท

    งบประมาณ 3,000.00 บาท
  • 5. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง
    รายละเอียด
    • ลงพื้นที่ติดตามและเฝ้าระวังพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
    • ติดตาม/เฝ้าระวังให้การดูแลกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
    • ติดตามการปฏิบัติตนในการเฝ้าระวังพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโดย อสม. 2 เดือน/ครั้ง
    • ติดตาม/เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง โดยติดตามระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือด วัดความดันฯ และ เจาะเลือดซ้ำ เพื่อประเมินภาวะเสี่ยงตามเกณฑ์มาตรฐาน

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน x 25 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,500 บาท

    งบประมาณ 1,500.00 บาท
  • 6. ประชุมคณะกรรมการและสรุปผลดำเนินงานโครงการ
    รายละเอียด
    • ประชุมคณะกรรมการและสรุปผลดำเนินงานโครงการ

    ค่าใช้จ่าย
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท
    2. ค่าเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 1,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

ชุมชนบ้านคลองเปล 3 ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,150.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามและฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 60
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ 20 และกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ รหัส กปท. L7257

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,150.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................