กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ม.1

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย

ชมรม อสม. หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งไหม้

1.นางพนิดา จำเริญ
2.นางนงค์นุช คล้ายนอง
3.นางนงค์เยาว์ หาญแคล้ว
4.นางสุรัตน์ กรดเต็ม
5.นางละเวง กรดเต็ม

หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งไหม้ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งเป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เข้าสู่ชุมชนตลอดจนเพื่อป้องกันประชาชนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญและประสิทธิภาพชีวิตของประชาชนในช่วงสถานการณ์ที่เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 กำลังระบาดหนักในชุมชน จึงเป็นเรื่องที่สำคัญต่อการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดทำโครงการมีแนวคิดการดำเนินงาน คือการสร้างความตระหนักในการดูแลประชาชน ดังนั้นจึงมีความจำเป้นมากที่สุด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการระบาดและป้องกันการติดเชื้อไวรัสCOVID-19

อสม.และประชาชนรู้วิธีการป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสCOVID-19

0.00
2 เพื่อให้ อสม.และประชาชนได้ความรู้เกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรนา2019และหาวิธีป้องกันตนเอง มีสุขภาพที่ดี

อสม.และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 และสามรถดูแล ป้องกันตนเองได้

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/01/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชนเกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรนา2019

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้แก่ อสม.และประชาชนเกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรนา2019
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 2,400 บาท -ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง จำนวน 100 คนๆละ 120 บาทเป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14400.00

กิจกรรมที่ 2 การสาธิต การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019

ชื่อกิจกรรม
การสาธิต การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิ จำนวน 1 เครื่องๆละ 2,500 บาท -แอลกอฮอล์ จำนวน 1 แกลลอน ราคา 850 บาท -ชุดตรวจ ATK จำนวน 20 ชุด ชุดละ 110 บาท เป็นเงิน 2,200 บาท -ไวนิลโครงการ จำนวน 1 ผืน 450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.สามารถคัดกรองการติดเชื้อไวรัสโคโรนาเบื้องต้นได้
2.สามารถลดการระบาดและป้องกันการติดเชื้อจากไวรัส COVID-19 ได้
3.ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดได้ด้วยตนเอง
4.ประชาชนจะได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคระบาดจากเชื้อไวรัส COVID-19
5.ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
6.ประชาชนได้รับการอบรมมีความรู้ในการป้องกันตนเอง


>