กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าพุทรา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค ประจำปี พ.ศ.2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าพุทรา

สำนักปลัด (งานสาธารณสุขฯ) องค์การบริหารส่วนตำบลท่าพุทรา

ห้องประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลท่าพุทรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (เนื้อสัตว์ ข้าว พืชผัก ผลไม้ ไขมัน) ครบ 3 มื้อ

 

39.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

64.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

53.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (เนื้อสัตว์ ข้าว พืชผัก ผลไม้ ไขมัน) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

39.00 46.00
2 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

64.00 69.00
3 เพื่อลดพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ ลดลง

53.00 58.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ขั้นตอนเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
1. ขั้นตอนเตรียมการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจข้อมูลจัดทำโครงการ
  2. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง
  4. ประสานงานหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง
  5. เตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์และสถานที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2. ขั้นตอนดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
2. ขั้นตอนดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. การรวบรวมข้อมูล สำรวจสถานที่จำหน่ายอาหาร
  2. จัดการอบรมให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสอาหารและผู้ประกอบการร้านอาหาร เครือข่ายร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำ ตลาดนัด เพื่อขับเคลื่อนงานอาหารปลอดภัย
  3. มอบบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารและประกาศนียบัตรแก่ผู้ผ่านการอบรม
  4. ลงพื้นที่ตรวจร้านอาหารพร้อมมอบป้ายและชุดประกอบการร้านอาหาร ปัจจัยในการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร ในการดำเนินการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร ควรดำเนินการให้ครบปัจจัยที่มีผลต่อความสะอาดปลอดภัยของอาหาร ซึ่งสามารถแบ่งการดำเนินการได้ 3 ด้าน ดังนี้ 4.1 ด้านกายภาพ หมายถึง การเฝ้าระวังปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและมาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารของสถานประกอบการด้านอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร การเฝ้าระวังทางกายภาพรวมถึงสังเกตพฤติกรรมและสุขวิทยาผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหาร เพื่อลดความเสี่ยงในการปนเปื้อน 4.2 ด้านเคมี หมายถึง การเฝ้าระวังการปนเปื้อนของสารเคมีในอาหารภาชนะและอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร ได้แก่ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงอาหาร โดยเก็บข้อมูลจากผลการตรวจตัวอย่างอาหาร และภาชนะอุปกรณ์ทางด้านเคมี การเฝ้าระวังการปนเปื้อน 4.3 ด้านชีวภาพ หมายถึง การเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อโรคในอาหาร ภาชนะอุปกรณ์สัมผัสอาหาร มือผู้สัมผัสอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 3. งบประมาณค่าใช้จ่าย

ชื่อกิจกรรม
3. งบประมาณค่าใช้จ่าย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์อบรม จำนวน 30 ชุดๆละ 20 บาทเป็นเงิน600 บาท
  • ค่าจัดทำบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารและประกาศนียบัตร จำนวน 30 ชุดๆละ 50 บาท เป็นเงิน1,500 บาท
  • ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน1,500 บาท
  • ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆละ 60 บาท 1มื้อ เป็นเงิน1,800 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
17 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • สามารถบริหารจัดการงบประมาณในการใช้จ่ายค่าวัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการฯ
  • บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

กิจกรรมที่ 4 4. ติดตามและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
4. ติดตามและประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ติดตามจากการตรวจสถานประกอบการ สถานที่จำหน่ายอาหารตามข้อกำหนดหลักเกณฑ์ ด้านสุขาภิบาล
  2. ประเมินผลการอบรม ทดสอบความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังอบรมโดยใช้แบบทดสอบความรู้
  3. ประเมินผลโครงการตามความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้ร่วมโครงการ โดยแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ติดตามการจัดทำโครงการและรายงานผลสรุปโครงการให้คณะกรรมการทราบ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี
2. ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร และสุขวิทยาส่วนบุคคลที่ถูกต้องสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่วนบุคคลในการประกอบการจำหน่ายอาหาร ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
3. คุ้มครองประชาชนให้ได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย เป็นการป้องกันและระงับโรคติดต่อที่อาจเกิด จากการรับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัย


>