กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาชะอัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขภาพดี วิถีพอเพียง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาชะอัง

โรงเรียนบ้านสามเมียม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน

 

10.00

การมีคุณภาพชีวิตดี สุขภาพดีบนวิถีพอเพียง ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ของคนในสังคมปัจจุบัน แต่เนื่องจากสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้สาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่เหมาะสมของบุคคล ตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรุนแรง ดังนั้นเพื่อให้เป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพ ควรเริ่มต้นในวัยเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันปัญหาสุขภาพตั้งแต่แรกเริ่มสามารถเผชิญกับปัญหาและสภาวการณ์ที่คุกคามต่อสุขภาพได้ รวมทั้งขยายผลแนวทางสุขภาพดี วิถีพอเพียง สู่ชุมชนต่อไป
โรงเรียนบ้านสามเสียม ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าของแนวทางสุขภาพดี วิถีพอเพียง จึงได้พัฒนาให้นักเรียนโรงเรียนบ้านสามเสียมได้กินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียง เพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนใส่ใจดูแลสุขภาพและพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ และได้นำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปัญหาเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน

ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน ลดลง

10.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 24
กลุ่มวัยทำงาน 28
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่อง สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ และการให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่อง สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ และการให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย ...
1. นักเรียนโรงเรียนบ้านสามเสียม จำนวน28 คน
2. ครู จำนวน 4 คน 3. เครือข่ายผู้ปกครอง จำนวน 20 คน ทั้งหมด52คน

กิจกรรมที่1 : อบรมให้ความรู้ 1. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 52 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน2,600 บาท 2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 52 คน ๆ ละ 50 บาท (2 มื้อ ๆ ละ25 บาท) เป็นเงิน2,600 บาท
3. ค่าวิทยากรจำนวน3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
4. วัสดุอุปกรณ์ฝึกอบรม เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรับประทานอาหารที่มีประโยชน์บนวิถีพอเพียง
  2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการได้
  3. นักเรียนมีร่างกายสมบูรณ์โภชนาการสมวัย สุขภาพดีตามวิถีพอเพียง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดฐานการเรียนรู้แปลงสาธิตอาหารเพื่อสุขภาพและฝึกปฏิบัติ ในแต่ละระดับชั้น

ชื่อกิจกรรม
จัดฐานการเรียนรู้แปลงสาธิตอาหารเพื่อสุขภาพและฝึกปฏิบัติ ในแต่ละระดับชั้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 2 : ปฏิบัติการแปลงสาธิตอาหารเพื่อสุขภาพ 1. วัสดุอุปกรณ์ในแปลงสาธิต เช่น ดิน เมล็ดพันธ์ ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นเงิน 10,000 บาทโดยให้นักเรียนเป็นผู้ดำเนินการหลัก

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและรับประทานอาหารที่มีประโยชน์บนวิถีพอเพียง
  2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการได้
  3. นักเรียนมีร่างกายสมบูรณ์โภชนาการสมวัย สุขภาพดีตามวิถีพอเพียง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน ลดลง


>