กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กปฐมวัยปลอดภัยโควิด ของโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้าสังกัด อบต.เกาะสะบ้า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

โรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า

โรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ที่มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วใน หลายประเทศทั่วโลก เป็นโรคระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic) ที่มีการติดเชื้อจากคนไปสู่คน โดยพบผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันสะสมทั่วโลกจำนวนมาก เสียชีวิตจำนวนมาก สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 337,680 คน พบ (ข้อมูลจาก รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ (CCD-art) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๕๕๙ (COVID-๑9) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 11 กุมภาพันธ์ ๒๕65) หลายประเทศมีมาตรการในการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคด้วย การปิดเมืองปิดประเทศ หรือหยุดกิจการบางประเภท ส่งผลให้แรงงานชาวไทยหรือนักศึกษาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งในต่างประเทศและภายในประเทศมีการเดินทางกลับภูมิลำเนา จึงจำเป็นต้องมีการลงพื้นที่สำรวจ ค้นหากลุ่มเสี่ยง เพื่อประโยชน์ในการติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคที่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ
COVID-1๙ ต่อไป มาตรการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-๑๙ นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกพล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี นั้น
ในการนี้ โรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้ามีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting โดยครูและบุคลากรในโรงเรียนต้องเข้ารับการฉีดวัคซีน-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน onsite ด้วยชุด ATK เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-19) จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) นั้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ของนักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 17/05/2022

กำหนดเสร็จ 12/10/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมการ เสนอโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเตรียมการ เสนอโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 พฤษภาคม 2565 ถึง 12 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมคัดกรองATKให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในสังงกัด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองATKให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในสังงกัด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าเจลล้างมือ จำนวน2แกลลอน แกลลอนละ 850 บาท เป็นเงิน1700บาท -ค่าชุดตรวจโควิด - 19 ด้วยตนเอง หรือ ATK ชนิดตรวจด้วยน้ำลาย จำนวน 409 ชุด ชุดละ 85 บาทเป็นเงิน34,765บาท -ค่าหน้ากากอนามัยจำนวน 2 กล่อง กล่องละ 50 บาท เป็นเงิน 100บาท -ค่าชุด C P E ป้องกันเชื้อไวรัส-เชื้อโรค และสารเคมี จำนวน 8 ชุด ชุดละ 50 บาท เป็นเงิน 400 บาท -ถุงมือป้องกันเชื้อโรค จำนวน 2 กล่อง กล่องละ 350 บาท เป็นเงิน700บาท -ค่าถุงแดงขยะติดเชื้อ จำนวน 5 ชุด ชุดละ 85 บาท เป็นเงิน425บาท -หมวกตัวหนอน 1 แพคแพคละ 150 บาท เป็นเงิน150บาท -เฟชชิวด์8 ชิ้นชิ้นละ 35บาท เป็นเงิน280บาท -ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 * 2.4 / ตารางเมตรละ 150เป็นเงิน500 บาท 2. คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนในโรงเรียน -นักเรียนได้รับการคัดกรอง ครบ 100 % รวม 39,020 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 พฤษภาคม 2565 ถึง 12 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
39020.00

กิจกรรมที่ 3 ประเมินผลและติดตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลและติดตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำตารางประเมินผลและติดตามโครงการ
  2. บันทึกภาพกิจกรรมการตรวจคัดกรอง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,020.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19
2 นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน มีความปลอดภัยและมีภาวะเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) น้อยที่สุด


>