กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับ 4

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่

สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่

ตำบลวังใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

 

80.00
2 ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

 

80.00
3 จำนวนมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ)

 

80.00
4 ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19

 

60.00
5 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

80.00 100.00
2 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

80.00 100.00
3 เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ)

จำนวนมาตรการทางสังคมเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19

80.00 100.00
4 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น

ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนที่เข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น

60.00 80.00
5 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

80.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 28/02/2022

กำหนดเสร็จ 31/03/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ

  • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการฯ

  • ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2565 ถึง 2 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดการประชุมคณะทำงานดำเนินโครงการฯและ มีการวางแผนการดำเนินงาน ได้แผนการดำเนินงาน

2.มีหน่วยงานในพื้นที่และกลุ่มเครือข่ายต่างๆเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายแต่ละหมู่บ้าน

  • ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ ตลาด แหล่งชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการประชาสัมพันธ์เรื่องป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) เสียงตามสาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับ 4 ในพื้นที่ อบต.วังใหญ่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับ 4 ในพื้นที่ อบต.วังใหญ่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง คัดกรองและควบคุม ผู้ที่มีความเสี่ยงโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019

1.ถุงมือ size s จำนวน 10 กล่องกล่องละ 350 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท

2.ถุงมือ size s จำนวน10 กล่อง กล่องละ 350 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท

3.ถุงมือ size s จำนวน10 กล่อง กล่องละ 350 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท

4.ชุดตรวจ ATK จำนวน 28 ชุดชุดละ2,500บาท เป็นเงิน 70,000 บาท

5.น้ำยาพ่นฆ่าเชื้อ (ชนิดพ่นแห้ง) จำนวน 5 ถัง ถังละ 3,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท

6.แอลกอฮอล์ 75 % จำนวน 10 แกลลอน แกลลอนละ 150 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

9.หมวกตัวหมอน จำนวน 4 แพ็ค แพ็คละ 250บาทเป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2565 ถึง 4 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน

2.เกิดการคัดกรองผู้ที่มีภาวะความเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งต่อเคสให้หน่วยงานสาธารณสุข

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
98000.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามประเมินผลโครงการฯ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลโครงการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ติดตามผู้ที่มีภาวะความเสี่ยงโดยใช้การประเมินด้านสาธารณสุข

2.ติดตามประเมินกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เพื่อไม่ให้มีกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ตำบลวังใหญ่

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 มีนาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ไม่มีกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ตำบลวังใหญ่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 98,000.00 บาท

หมายเหตุ :
รายจ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
2. ประชาชนในพื้นที่ตำบลวังใหญ่ ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
3. การดำเนินงานเชิงรุกในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ


>