กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

สถานีตำรวจภูธรสากอ

1. ร.ต.ท. สาธิต สมศรี รอง สว. (ป.)
2. ด.ต. จิระ จุลนิล ผบ. หมู่ (ป.)

1. โรงเรียนบ้านสากอ 2. โรงเรียนบ้านไม้แก่น

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากสถานการณ์ปัจจุบัน เด็กเยาวชนเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเสพติดมากที่สุด ทั้งในและนอกสถานศึกษา ตำบลสากอ เป็นตำบลหนึ่งที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดมากพอสมควร เนื่องจากเป็นชุมชนซึ่งมีประชากรพักอาศัยอยู่จำนวนมาก ประกอบกับกลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่อยากลอง จึงถูกช

 

20.00

จากสถานการณ์ปัจจุบัน เด็กเยาวชนเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเสพติดมากที่สุด ทั้งในและนอกสถานศึกษา ตำบลสากอ เป็นตำบลหนึ่งที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดมากพอสมควร เนื่องจากเป็นชุมชนซึ่งมีประชากรพักอาศัยอยู่จำนวนมาก ประกอบกับกลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่อยากลอง จึงถูกชักชวนให้ใช้สิ่งเสพติดได้ง่าย จากปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม จึงหันมาไปพึ่งยาเสพติด เพื่อลดความเครียดของจิตใจ หลักสำคัญของโครงการนี้คือ การให้ข้อมูลและทักษะที่จำเป็นกับเด็กนักเรียน เพื่อสามารถใช้ชีวิตได้โดยปราศจากยาเสพติด และความรุนแรง สร้างสัมพันธภาพอันดี ระหว่างตำรวจ นักเรียน ครู บิดา มารดา และสมาชิกชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษภัยยาเสพติด 2. เพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติดมากขึ้น 3. เพื่อให้นักเรียนมีการตอบปฏิเสธ เมื่อมีการชักชวนให้ลองยาเสพติด 4. เพื่อให้นักเรียนรู้จักรับผิดชอบตนเอง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 5. เพื่อให้นักเรียนสามารถเป็นแกนนำต้านยาเสพติด
  1. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 ไม่ยุ่งกับยาเสพติด
  2. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 มีภูมิคุ้มกันยาเสพติด
  3. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 ตอบปฏิเสธได้ เมื่อมีเพื่อนชักชวนให้ลองยาเสพติด
  4. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 ดูแลรับผิดชอบตนเองได้ ไม่ยุ่งเกี่่ยวกับยาเสพติด
  5. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 สามารถเป็นแกนนำต้านยาเสพติด
0.00 134.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2022

กำหนดเสร็จ 31/03/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมภาคทฤษฎี โดยให้ความรู้แก่นักเรียน

ชื่อกิจกรรม
อบรมภาคทฤษฎี โดยให้ความรู้แก่นักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ฝึกอบรมภาคทฤษฎีโดยให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน ชั้น ป. 5/1 ป. 5/2 โรงเรียนบ้านสากอ จำนวน 102 คน และ เด็กนักเรียน ชั้น ป. 6/1 และ ป.6/2 โรงเรียนบ้านไม้แก่น จำนวน 32 คน

งบประมาณ

ค่าวิทยากร 300 บ. x 2 คน = 600 บ. 8 ชั่วโมง 8x600 = 4,800 บ. จำนวน 2 ร.ร. = 4,800x2 = 9,600 บ.

ค่าวัสดุ 10,146 บาท แบ่งเป็น - คู่มือแบบฝึกหัด เล่มละ 40 บ. = 40 x 134 = 5,360 บ. - ปากกาน้ำเงิน ด้ามละ 7 บ. = 7 x 134 = 938 บ. - ปากกาแดง ด้ามละ 7 บ. = 7 x 134 = 938 บ. - ใบประกาศนียบัตร ใบละ 15 บ. = 15 x 134 = 2,010 บ. - ป้ายไวนิล ขนาด 100 x 300 ซม. = 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับพิษภัยยาเสพติด
  2. นักเรียนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติดมากขึ้น
  3. นักเรียนมีการตอบปฏิเสธ เมื่อมีการชักชวนให้ลองยาเสพติด
  4. นักเรียนรู้จักรับผิดชอบตนเอง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  5. นักเรียนสามารถเป็นแกนนำต้านยาเสพติดได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19746.00

กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมภาคปฏิบัติ

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมภาคปฏิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • บันทึกจากการได้เรียนรู้ลงสมุด
  • ถาม ตอบ จากความรู้ที่ได้เรียนรู้
  • อธิบายถึงพิษภัยของยาเสพติดได้
  • เขียนคำตอบในคำถามแบบฝึกหัด
  • นันทนาการ
  • สาธิตการตอบปฏิสธเมื่อมีเพื่อมาชักชวนให้ลองยาเสพติด การตอบปฏิเสธเมื่อมีแรงกดดันจากเพื่อน
  • สมมติสถานการณ์แรงกดดันจากเพื่อน
  • ให้นักเรียนตอบปฏิเสธโดยออกมาแสดงหน้าชั้นเรียน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 พิธีปิด

ชื่อกิจกรรม
พิธีปิด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • เชิญนายก อบต. ปลัด กรรมการกองทุนฯ หัวหน้า สภ.สากอ ผู้มีเกียรติ คณะครู คณะผู้ปกครอง ร่วมพิธีปิด
  • มอบใบประกาศนียบัตรแก่นักเรียน
  • วิทยากรกล่าวรายงาน
  • ประธานกล่าวปิดงาน
  • ถ่ายภาพร่วมกัน

ค่าอาหารว่าง 3,395 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3395.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,141.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 ไม่ยุ่งกับยาเสพติด
2. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 มีภูมิคุ้มกันยาเสพติด
3. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 ตอบปฏิเสธได้ เมื่อมีเพื่อนชักชวนให้ลองยาเสพติด
4. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 ดูแลรับผิดชอบตนเองได้ ไม่ยุ่งเกี่่ยวกับยาเสพติด
5. เด็กนักเรียนร้อยละ 90 สามารถเป็นแกนนำต้านยาเสพติด


>