กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างนำซ่อม ยอมปรับ ยอมเปลี่ยน เพื่อสุขภาพที่ดีกว่าตำบลนาหว้า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาหว้า

1.................................................................
2.................................................................
3................................................................
4...............................................................
5..............................................................

่พื้นที่ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

53.70
2 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

63.40
3 ร้อยละของประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

65.40
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

65.60
5 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

70.60

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

63.40 75.00
2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

53.70 65.00
3 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง ลดลง

65.40 50.00
4 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

65.60 75.00
5 เพื่อลดพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ ลดลง

70.60 65.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 453
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะกรรมการกองทุน 20
ผู้นำชุมชน 20
อสม. 45

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 05/07/2022

กำหนดเสร็จ 06/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สร้างกฎ กติกา ข้อตกลงร่วมกันในการส่งเสริมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี

ชื่อกิจกรรม
สร้างกฎ กติกา ข้อตกลงร่วมกันในการส่งเสริมสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมประชาคมในหมู่บ้าน ต่าง ๆ
  • การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กรกฎาคม 2565 ถึง 22 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร่วมสร้างข้อตกลงชุมชนด้านสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องและปฏิบัติให้ต่อเนื่องลดพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องโดยอาสาสมัครสาธารณสุข

  • ส่งเสริมการรวมกลุ่มการทำกิจกรรมสร้างสุขภาพ
  • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการลดอาหารรสหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม รับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่ อาหารสะอาด ปลอดภัยและได้คุณค่า รับประทานอาหารให้พอเหมาะ สมดุลย์กับการใช้พลังงาน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไม่สูบบุหรี่ สุรา หรือการจัดการกับอารมณ์ ความเครียด เป็นต้น
  • ประเมินภาวะสุขภาพของตนเองอย่างส่ำเสมอ เช่น รอบเอว น้ำหนัก ดัชนมวลกาย ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด เป็นต้น
  • สร้างชุมชนรักษ์สุขภาพ
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  • ภาวะสุขภาพของแต่ละบุคคล
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุขนพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุขนพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. และเครือข่ายด้านสุขภาพรายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม วิทยากรและผู้ดำเนินงาน จำนวน 40 คน ๆละ 2 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม วิทยากรและผู้ดำเนินงาน จำนวน 40 คน ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน4 ชั่วโมง ๆละ 600 บาทต่อคน เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าวัสดุการอบรม เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 กรกฎาคม 2565 ถึง 27 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจในการวิเคราะห์ปัญหา การวางแผน
  • มีการวางแผนแก้ไขปัญหาได้ถูกต้อง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,900.00 บาท

หมายเหตุ :
*** ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ มีสุขภาพที่ดีห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ
2. ประชาชนเกิดทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง


>