กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสอนน้องว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำได้

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย

โรงเรียนบ้านสงเปือย

นายอุทาน สิงห์ครุธ
นางงามตารุ่งเรือง
นางสาวกัลยาผารัตน์
นางสาวศศิธร วิรุณพันธ์
ด.ช.ธนดล สีละโคตร

โรงเรียนบ้านสงเปือย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

32.05
2 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

58.95

จากการสำรวจพบว่า ประเทศไทยมีอุบัติเหตุจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) เสียชีวิตมากเป็นอันดับหนึ่ง คิดเฉลี่ยแล้วปีละ 1,300-1,500 คน หรือเฉลี่ย 3-4 คนต่อวัน แถมพบว่าอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำมีสถิติพุ่งสูงขึ้นในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนระหว่างเดือน มี.ค.-พ.ค.ของทุกปี ซึ่งผลจากการสำรวจการว่ายน้ำเป็นของเด็กไทย (อายุ 5-14 ปี) ปี 2557 จากจำนวนเด็ก 8 ล้านคน พบว่าเด็กที่ว่ายน้ำมีเพียงร้อยละ 23.7 หรือประมาณ 2 ล้านคน แต่ที่สามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้มีเพียงร้อยละ 4.4 หรือ 367,704 คน
จากสถิติดังที่กล่าวมา จึงทำให้เกิดโครงการพี่สอนน้อง "ว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้" โดยทางโรงเรียนบ้านสงเปือย ได้เห็นความสำคัญของการว่ายน้ำเป็นอย่างมาก เพื่อให้เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการช่วยลดอุบัติเหตุจากการจมน้ำเสียชีวิตของเด็ก โดยเป็นหลักสูตรการอบรมทักษะการว่ายน้ำอย่างถูกต้อง เพื่อเรียนรู้การเอาชีวิตรอดและรู้จักการช่วยเหลือตัวเอง และผู้อื่นในขณะที่ประสบเหตุทางน้ำซึ่งถือเป็นการดูแลคุณภาพชีวิตในระดับการป้องกันเชิงปฏิบัติ ซึ่งจะเกิดความปลอดภัยทั้งผู้ประสบเหตุและผู้ที่ให้การช่วยเหลือ และสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

32.05 53.42
2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

58.95 68.77

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>