กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ

ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน

เขตพื้นที่เทศบาลตำบลหนองพ้อ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

ชื่อกิจกรรม
การป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กิจกรรมการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. จัดทำฐานข้อมูลประชากร 35 ปีขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงอายุน้อยกว่า 35 ปี
  3. จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับตรวจน้ำตาลในเลือด
  4. การดำเนินกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงหัวใจและหลอดเลือด ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
    1. ให้ความรู้ในกลุ่มปกติ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยง 3อ. 2ส.ให้ความรู้ผ่านแผ่นพับ คิวอาร์โค้ด
  5. แจ้งผลการคัดกรอง และการปฏิบัติตัวตามความเสี่ยงของแต่ละบุคคลผ่านใบแจ้งผลการคัดกรอง . ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเลือดพร้อมเข็มเจาะเลือด จำนวน 25 กล่อง (100 ชิ้น/กล่อง) ราคากล่องละ 960 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
  6. ค่าแอลกอฮอล์บอล จำนวน 500 แผง (8 ก้อน/แผง) ราคาแผงละ 3 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  7. หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ จำนวน 57 กล่อง(50 ชิ้น/กล่อง)ราคากล่องละ 125 บาท เป็นเงิน 7,125 บาท
  8. แอลกอฮอล์ ล้างมือ จำนวน 45 ขวดๆ ละ107 บาท เป็นเงิน 4,815บาท
    รวมเป็นเงิน 37,440 บาท
  9. กิจกรรมฟื้นฟูความรู้แกนนำดูแลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยโรค ผ่านระบบออนไลน์
  10. กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและติดตามกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงโดยการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP)
    1.ให้กลุ่มสงสัยโรคความดันโลหิตสูงวัดความดันด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) ติดต่อกันเป็นเวลา 7 วัน และประเมินผลการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HMBP)
  11. ติดตามกลุ่มสงสัยโรคความดันที่ได้รับการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HMBP) ที่ค่าเฉลี่ยความดันโลหิต ≤138/85 mmHg พบแพทย์เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
    1. ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานให้ได้รับการตรวจFBSซ้ำและ ผลFBS มากกว่า125mg/dl ติดต่อกัน 2 ครั้งติดตามให้พบแพทย์เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  12. เครื่องวัดความดัน สำหรับวัดความดันโลหิตที่บ้าน (HMBP) จำนวน 9 เครื่อง เครื่องละ 2,500 บาท เป็นเงิน 22,500 บาท ทั้งนี้ให้สามารถถัวจ่ายกันได้ระหว่างรายการ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง   2.  ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง   3.  ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
59940.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 59,940.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คัดกรองเบาหวานได้ร้อยละ90
2.คัดกรองความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 90
3.ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5
4.ร้อยละประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลงจากปีงบประมาณ ร้อยละ 5
5.ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ร้อยละ 70
6. ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตาม ร้อยละ 60


>