กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

คัดแยกขยะ ลดขยะต้นทาง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง

กลุ่มแม่บ้านไอตีมุง

หมู่ที่ 4 บ้านไอตีมุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันหมู่บ้านไอตีมุง มีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น การบริโภคในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งขยะเหล่านี้เป็นขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่นกล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซึ่งขยะเหล่านี้ก่อนให้เกิดมลภาวะ การกำจัดอยากไม่ถูกวิธี ร่วมถึงเป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่างๆ ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม และส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนได้
จากเหตุปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำให้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะ ยากที่จะควบคุมได้ เว้นแต่ประชาชนในหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้บริโภค และผู้ขายจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้หีบห่อบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก เป็นหีบห่อบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กระดาษ ที่สามารถย่อยสลายได้ง่าย ซึ่งเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น กลุ่มแม่บ้านไอตีมุง จึงของจัดทำโครงการคัดแยกขยะ ลดขยะต้นทาง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธีรวมทั้งการเดินรณรงค์เพื่อกระตุ้นสร้างจิตสำนึก และการมีส่วนร่วมในการลดขยะต้นทางของประชาน ซึ่งอาจส่งผลให้ขยะในหมู่บ้านมีปริมาณลดลง จาการที่ประชาชนนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติคัดแยกขยะจากต้นทาง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในหมู่บ้านและประชาชนทั่วไป

 

0.00
2 เพื่อให้มีความรู้ในการลดปริมาณขยะ วิธีคัดแยกขยะ และการนำกลับมาใช้ใหม่

 

0.00
3 เพื่อลดขยะในหมู่บ้าน และการบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเอง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทาง การกำจัดขยะ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะต้นทาง การกำจัดขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22320.00

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างจิตสำนึกลดการใช้ถุงพลาสติก งดใช้โฟม

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างจิตสำนึกลดการใช้ถุงพลาสติก งดใช้โฟม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6290.00

กิจกรรมที่ 3 ฝึกอบรมการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 45,210.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการกระตุ้น และมีจิตสำนึก มีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
2. ประชาชนในหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะแต่ละประเภท ทราบถึงปัญหา ผลกระทบ
3. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยกขยะการนำกลับมาใช้ใหม่


>