กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง

สอน.ไอปาโจ

หมู่ที่ 4 ตำบลมาโมง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

องค์การอนามัยโลก (WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs (กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง) นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จากการศึกษาสถานการณ์การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประเทศไทย สถานการณ์เสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยการวัดดัชนีสุขภาพที่มีวิธีการต่างกันของโรคไม่ติดต่อสำคัญ ๕ โรค คือ โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองโรคระบบทางเดินหายใจ อุดกั้นเรื้อรัง และภาวะความดันโลหิตสูง
จากการสำรวจประชากรในเขตรับผิดชอบของ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯไอปาโจ ในปี ๒๕๖4 พบว่าประชากรอายุมากกว่า ๓๕ ปี มีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการสร้างความตระหนัก การส่งเสริมด้านสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินีไอปาโจ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเรื้อรังในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ไอปาโจ พร้อมทั้งให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายที่แฝงมากับโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็น ภาวะอัมพฤกษ์ อัมพาต ไขมันในเลือดสูง เส้นเลือดหัวใจตีบ โรคหัวใจ โรคไต เบาหวานขึ้นตา เป็นต้น ซึ่งทำให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย กลายเป็นภาระให้แก่ญาติ ผู้ดูแล และสังคม
ผลจากการคัดกรองโรคเรื้อรังในปีงบประมาณ ๒๕๖4 ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ แต่พบผู้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น จึงควรมีการให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อคัดกรองและแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

0.00
2 ๒. เพื่อคัดกรองและแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 169
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองสุขภาพโดยการวัดความดันโลหิต เจาะเลือดปลายนิ้วหลังงดน้ำ งดอาหาร เพื่อแยกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองสุขภาพโดยการวัดความดันโลหิต เจาะเลือดปลายนิ้วหลังงดน้ำ งดอาหาร เพื่อแยกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมวางแผนงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ไอปาโจ อสม.    และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
  2. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม   คัดกรองสุขภาพโดยการวัดความดันโลหิต เจาะเลือดปลายนิ้วหลังงดน้ำ งดอาหาร เพื่อแยกเป็นกลุ่มปกติ    กลุ่มเสี่ยง
  3. ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดโรคเรื้อรังและเกิดโรคแทรกซ้อนในโรคเรื้อรัง
  4. ดำเนินการตามแผน ปรับปรุงแก้ไข ติดตามผลเป็นระยะ โดย อสม. ผู้รับผิดชอบแต่ละพื้นที่
  5. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากคัดกรองครั้งแรก ๖ เดือน ประเมินผล ๖. สรุปผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27725.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,725.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>