กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ส่งเสริม พัฒนา สนับสนุน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 4.0 ภาคีเครือข่ายสภาพชุมชนและพัฒนาทักษะชีวิตด้านสุขภาประชาชน

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริม พัฒนา สนับสนุน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 4.0 ภาคีเครือข่ายสภาพชุมชนและพัฒนาทักษะชีวิตด้านสุขภาประชาชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ

รพ.จะแนะ

นายรสเดชมะ

ตำบลจะแนะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานขยะ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดยุทธ์ศาสตร์ ที่จะพัฒนาความเป็นเลิศ 4 ด้าน 1.การป้องกันโรคเป็นเลิศ 2.บริการเป็นเลิศ 3.บุคลากรเป็นเลิศ 4.บริหารจัดการเป็นเลิศเพื่อขับเคลื่อนทุกหน่วยงานไปสู่เป้าหมาย โดยนำกรอบแนวคิดประเทศไทย 4.0 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ยุทธศาสตร์ชาติด้านสารธารณสุขปี 2565-2569 จุดเน้นหลัก คือ สร้างความเข็มแข็งการจัดโครงสร้างพื้นฐาน กำลังคน รวมทั้งระบบ การบริหารจัดการให้เข็มแข็ง รวมไปถึงระบบความควบคุม ป้องกันโรค งานอนามัยสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญ คือ การทำให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ในอดีตประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัส ที่มากระทำต่อร่างกาย ด้วยการสารณสุขของไทยที่มีความก้าวหน้าในปัจจุบัน การใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์มีความทันสมัย เกิดการวินิจฉัยที่มีความแม่นยำใน การป้องกันโรค ในปัจจุบัน มีโรคติดต่อที่ไม่เคยปรากฏขึ้นมาอย่างโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 หรือ โควิด-19 ซึ่งเป็นภัยต่อมนุษย์ชาติทั้งในแง่ การใช้ชีวิต สุขภาพ และเศรษฐกิจ ดังนั้นเพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาทุกฝ่ายต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพ และการปฏิบัติตาม การแนะนำที่ถูกต้องจากสาธารณสุข การปรับตัวของประชาชนให้ มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตใหม่ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของโรค การสร้างสุขภาพและการป้องกันสุขภาพ โดยการส่งเสริม และสนับสนุน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เข้ามามีบทบาทในการมีองค์ความรู้ด้านสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ในเบื้อต้น สามารถ แลกเปลื่ยนข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ สร้างองค์ความรู้และทักษะการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในชุมชนให้มีความเหมาะสมต่อสภาพแวดล้อมในพื้นที่ อีกทั้งจำเป็นต้องสร้างองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี ในการประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงาน ในชุมชน เพื่อให้เกิด การป้องกันปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการ อสม. 4.0 เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้ ทั้งด้านการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชน ตลอดจนนำไปสู่การจัดการด้านสุขภาพครอบครัวที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 3.1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และทักษะการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในชุมชน ให้มีความเหมาะสม ต่อสภาพแวดล้อมในพื้นที่ 3.2.เพื่อสร้างเครือข่ายในการในการดำเนินการป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค 3.3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีในการประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/05/2022

กำหนดเสร็จ 16/05/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่1เสริมสร้างองค์ความรู้ขององค์กรอาสาสมัครสาธารณสุข กิจกรรมที่ 2 ถอดบทเรียนสู่การปฏิบัติในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่1เสริมสร้างองค์ความรู้ขององค์กรอาสาสมัครสาธารณสุข กิจกรรมที่ 2 ถอดบทเรียนสู่การปฏิบัติในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขอสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลจะแนะทั้งสิ้น  183,580 บาท      (หนึ่งแสนแปดหมื่นสามพันห้าร้อยแปดสิบบาทถ้วน)   รายละเอียดการใช้งบประมาณ กิจกรรมที่ 1 เสริมสร้างองค์ความรู้ขององค์กรอาสาสมัครสาธารณสุข รุ่นที่1 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 39 คนๆละ60บาท จำนวน 1 มื้อ  จำนวน 2 วัน           เป็นเงิน 4,680 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 39 คนๆละ 30บาทจำนวน2 มื้อ จำนวน 2 วัน      เป็นเงิน 4,680 บาท 3.ค่าเอกสารประกอบการประชุม 180 บาท x 39 ชุด            เป็นเงิน  7,020 บาท 4.ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน x 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน      เป็นเงิน  7,200 บาท                                                    รวมเป็นเงิน   23,580 บาท รุ่นที่2 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 39 คนๆละ60บาท จำนวน 1 มื้อ  จำนวน 2 วัน           เป็นเงิน 4,680 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 39 คนๆละ 30บาทจำนวน2 มื้อ จำนวน 2 วัน      เป็นเงิน 4,680 บาท 3.ค่าเอกสารประกอบการประชุม 180 บาท x 39 ชุด            เป็นเงิน  7,020 บาท 4.ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน x 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน      เป็นเงิน  7,200 บาท                                                    รวมเป็นเงิน   23,580 บาท รุ่นที่3 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 39 คนๆละ60บาท จำนวน 1 มื้อ  จำนวน 2 วัน           เป็นเงิน 4,680 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 39 คนๆละ 30บาทจำนวน2 มื้อ จำนวน 2 วัน      เป็นเงิน 4,680 บาท 3.ค่าเอกสารประกอบการประชุม 180 บาท x 39 ชุด            เป็นเงิน  7,020 บาท 4.ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน x 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 2 วัน      เป็นเงิน  7,200 บาท                                                    รวมเป็นเงิน   23,580 บาท                                              รวมเป็นเงินทั้งสิ้น70,740 บาท(เจ็ดหมื่นเจ็ดร้อยสี่สิบบาทถ้วน)


กิจกรรมที่ 2 ถอดบทเรียนสู่การปฏิบัติในชุมชนจำนวน 11 หมู่บ้าน
    รายละเอียดการใช้งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 117 คน x 1 มื้อ x 60 บาท                เป็นเงิน   7,020บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 117 คน x 2 มื้อ x 30 บาท              เป็นเงิน   7,020[บาท 3.ค่าวิทยากร 1 คน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท 11 วัน              เป็นเงิน 39,600 บาท 4.ค่าอุปกรณ์ประกอบการลงพื้นที่                          เป็นเงิน 57,200 บาท
     4.1. เครื่องมือวัดความดัน ดิจิทอล จำนวน 11 เครื่อง เครื่องละ 2,500 บาท     เป็นเงิน 27,500 บาท      4.2 เครื่องเจาะน้ำตาล (เบาหวาน) จำนวน 11 เครื่อง เครื่องละ 2,000 บาท    เป็นเงิน 22,000 บาท      4.3. ปรอทวัดไข้ จำนวน 11 ชุด ชุดละ 200 บาท              เป็นเงิน   2,200 บาท      4.4. เครื่องวัดออกซิเจน จำนวน 11 เครื่อง เครื่องละ 250 บาท      เป็นเงิน   2,750 บาท      4.5. กระเป๋าปฐมพยาบาล จำนวน 11 ชิ้น ชิ้นละ 250 บาท         เป็นเงิน   2,750 บาท 5.ค่าไวนิล ขนาด 4 x 3 เมตร                          เป็นเงิน   2,000 บาท                    รวม 112,840 (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นสองพันแปดร้อยสี่สิบบาทถ้วน) รวมเป็นเงิน2กิจกรรมทั้งสิ้น  183,580 บาท(หนึ่งแสนแปดหมื่นสามพันห้าร้อยแปดสิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

10.1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้และทักษะการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในชุมชน ที่มีความเหมาะสมต่อสภาพแวดล้อมในพื้นที่
10.2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสร้างเครือข่ายในการในการดำเนินการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
10.3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีในการประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
183580.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 183,580.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>