กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยยิ้มใส ฟันสวย ผู้ปกครองใส่ใจสุขภาพช่องปาก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล

เขตรับผิดชอบ รพ.สต.

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ

 

65.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ

65.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. กิจกรรมในผู้ปกครองเด็กเล็ก ๐-๓ ปี

ชื่อกิจกรรม
๑. กิจกรรมในผู้ปกครองเด็กเล็ก ๐-๓ ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๕๖ คน ๆ ละ ๒๕ บาท ๒ มื้อ เป็นเงิน ๒,๘๐๐ บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๖ คนๆละ ๕๐ บาท เป็นเงิน ๒,๘๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5600.00

กิจกรรมที่ 2 ในโรงเรียน ๑.กิจกรรมอบรมแกนนำทันตสุขภาพดีในโรงเรียน ๒.กิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน

ชื่อกิจกรรม
ในโรงเรียน ๑.กิจกรรมอบรมแกนนำทันตสุขภาพดีในโรงเรียน ๒.กิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๘๐ คน ๆ ละ ๒๕ บาท ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท
  • ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 3 ๓.กิจกรรมอบรมแกนนำ และอสม.เชี่ยวชาญด้าน ทันตกรรม

ชื่อกิจกรรม
๓.กิจกรรมอบรมแกนนำ และอสม.เชี่ยวชาญด้าน ทันตกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๕๓ คน ๆ ละ ๒๕ บาท ๒ มื้อ เป็นเงิน ๒,๖๕๐ บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๕๓ คน ๆ ละ ๕๐ บาท   เป็นเงิน ๒,๖๕๐ บาท
  • ค่าวิทยากร ๑,๒๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6500.00

กิจกรรมที่ 4 ๔.ป้ายโครงการ

ชื่อกิจกรรม
๔.ป้ายโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๔.ป้ายโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. เด็กนักเรียนไม่มีฟันผุส่งผลให้สุขภาพด้านอื่น ๆ ดีตามไปด้วยและได้รับการดูแลตรวจสุขภาพช่องปากตามระบบเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง
๒. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมอย่างถูกต้องและเปลี่ยนแปลงทัศนคติและมีพฤติกรรมทางทันตสุขภาพดีขึ้น ตลอดจนมีการแปรงฟันทุกคนส่งผลให้ปัญหาเรื่องสุขภาพฟันและช่องปากหมดไป
๓. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ และกระบวนการการดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาในรูปแบบเครือข่ายและมีการพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
๔. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลช่องปากสามารถดูแลตนเองและบุตรและมีทันตสุขภาพช่องปากที่ดี


>