กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา ประจำปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา

1. นายประพันธ์ สังข์ติ้น ประธานศูนย์ฯ
2. นายสมบูรณ์ สงเหมือน
3. นางลัดดาวรรณ ศรีนาค
4. นางสางศุกร์อักษร ผอมดำ
5. นางสาวจิราภรณ์ พงษ์ชู

โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

200.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

50.00 40.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

200.00 150.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/04/2022

กำหนดเสร็จ 29/04/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่อง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ แนะนำการออกกำลังกายและกิจกรรมนันทนาการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่อง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ แนะนำการออกกำลังกายและกิจกรรมนันทนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้/ฝึกปฏิบัติ เรื่อง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและโรคที่เกี่ยวข้อง ตรวจสุขภาพ สาธิตแนะนำการออกกำลังกายให้ผู้สูงอายุ เช่น ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โยคะ รำไม้พลอง เป็นต้น และกิจกรรมนันทนาการร้องเพลง รำวงย้อยยุค การละเล่นพื้นบ้าน แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 50 คน

งบประมาณ
1. ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1x3 เมตร x 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 คนๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าเอกสาร/วัสดุการฝึกอบรม (คู่มือการอบรม) ชุดละ 15 บาท จำนวน 200 ชุด เป็นเงิน 3,000 บาท
5. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
6. ค่าจัดเตรียมสถานที่และค่าเช่าเครื่องเสียง เป็นเงิน 2,000 บาท
รวมเป็นเงิน 32,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 เมษายน 2565 ถึง 29 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต
1. ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 50 คน

ผลลัพธ์
1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพอนามัย ทั้งทางด้านสุขภาพใจ สุขภาพกาย อารมณ์ ความคิด และสังคมที่ดี สามารถดูแลตนเองได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 32,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีการพัฒนาสุขภาพจิต นำไปสู่การการมีสุขภาพกาย อารมณ์ ความคิด และสังคมที่ดี
2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถดูแลตนเองได้
3. ผู้สูงอายุ ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง


>