กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลNCDs บ้านโคก หมู่ที่ 5 ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

โรงพยาบาลเจาะไอร้อง

โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆ ของประเทศไทย ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ในปีพ.ศ.2559 – 2561 มีอัตราตาย 114.096, 114.661, 114.283 ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูล จากสํานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561) และต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา สูงมาก เฉพาะโรคมะเร็งอย่างเดียว ประมาณคนละ 1 ล้านบาท ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมี พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง คือ ขาดการออกกําลังกายมีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง
จากการคัดกรองโรคเมตาบอลิกของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ในปี 2562 – 2564 พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมีอัตรา 960.19 , 670.54 , 800 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ประชากรมีภาวะเบาหวาน มีอัตรา 397.32 , 302.56 , 329.90 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีกลุ่มป่วย โรคเบาหวานลดลง แต่โรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากการได้ดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่าบ้านโคก ม.5 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมากที่สุดที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง เมื่อเทียบกับหมู่บ้าน อื่น ในเขตรับผิดชอบของกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ซึ่งได้ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม., ผู้ใหญ่บ้าน ,ผู้นำศาสนา บ้านโคก ม.5 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จัดทำโครงการชุมชนบ้านโคกวิถีใหม่ ห่างไกลโรค NCDs เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จุดประกายให้ ประชาชนในหมู่บ้าน ได้หันมาเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชน ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพที่ยั่งยืนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรัง 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

1.ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมที่ดีขึ้นร้อยละ 80
2.ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 1 ของกลุ่มเป้าหมาย

1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
    รวมเป็นเงิน 9,000.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆ 2 มื้อๆละ 25 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คนๆ 1 มื้อๆละ 50 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน 4,500.-บาท
  • ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 720.-บาท
  • ค่าแผ่นป้ายพลาสวูดแบบตั้งโต๊ะขนาด 21 เซนติเมตร x 30 เซนติเมตร จำนวน 10 แผ่นป้ายๆละ 500 บาท เป็นเงิน 5,000.-บาท
  • ค่าตัวอย่างอาหาร 10 รายการต่อ1ครั้งๆละ 500บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 1,500.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16220.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท 1 ครั้ง เป็นเงิน 750.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมมหกรรมเดินออกกำลังกายและอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายในแต่ละกลุ่มวัย/จัดมหกรรมออกกำลังกายในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250.-บาท
  • ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 2 ป้ายๆละ 720บาท เป็นเงิน 1,440.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2690.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,660.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 .ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. ลดอัตราป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่


>