กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในชุมชน (ชมรมโยคะหมู่บ้านพฤกษ์ลดา วงแหวน- รัตนาธิเบศร์ ม.10 ประจำปี 2565)

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในชุมชน (ชมรมโยคะหมู่บ้านพฤกษ์ลดา วงแหวน- รัตนาธิเบศร์ ม.10 ประจำปี 2565)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

ชมรมโยคะหมู่บ้านพฤกษ์ลดา วงแหวน-รัตนาธิเบศร์ ม.10

ชมรมโยคะหมู่บ้านพฤกษ์ลดา วงแหวน-รัตนาธิเบศร์ ม.10

บริเวณสวนสาธารณะหมู่บ้านพฤกษ์ลดา วงแหวน-รัตนาธิเบศร์หมู่ 10

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

20.21
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

35.26
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

19.05
4 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

5.60
5 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

6.50
6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

32.10

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

20.21 22.21
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

35.26 37.43
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

19.05 21.50
4 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

32.10 29.73

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดทำแผนงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
1.จัดทำแผนงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 จัดประชุมคณะกรรมการเพื่อกำหนดกิจกรรม วัน เวลาและสถานที่ในการออกกำลังกาย 1.2 เสนอแผนงานเพื่อขออนุมัติงบประมาณ 1.3 ประชาสัมพันธ์แผนงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ และประเมินสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ และประเมินสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ แก่สมาชิกชมรม และประเมินสุขภาพ (โดยการวัดค่า BMI ก่อนเข้าร่วมโครงการ) เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 7 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1875.00

กิจกรรมที่ 3 3.ทำกิจกรรมการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
3.ทำกิจกรรมการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 ออกกำลังกายด้วยการเล่นโยคะ สัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 1 ชั่วโมง 3.2 วัดค่า BMI หลังเข้าร่วมโครงการ เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32400.00

กิจกรรมที่ 4 4. สรุปผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
4. สรุปผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ เมื่อสิ้นสุดโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 34,275.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สมาชิกชมรมมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจเบิกบานยิ่งขึ้น
2. สมาชิกชมรมมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง
3. สมาชิกชมรมที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ในเรื่อง 3 อ. 2 ส.


>