แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ รหัส กปท. L1501
อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
หลักการและเหตุผล ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติของสำนักงานทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่าในกลุ่มเด็กอายุ 3 ปี มีโรคฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 52.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด 2.8 ซี่/คน และจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอเมืองตรัง ปี 2563 พบเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 58.43 และอัตราการเกิดโรคฟันผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ระหว่างช่วงอายุ 3-5 ปี ข้อมูลค่าฟันน้ำนมผุ ถอน อุด (dmft) อยู่ในระดับมากกว่า 3 ซี่/คน ปัญหาที่สำคัญที่ส่งผลต่อการเกิดโรคฟันผุของเด็กกลุ่มวัยนี้ คือ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กไม่ถูกต้อง และไม่สม่ำเสมอ ซึ่งต้องได้รับการเอาใจใส่ดูแลจากผู้ปกครอง ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการปรับพฤติกรรมและส่งเสริมการแปรงฟันให้เด็กอย่างถูกวิธี เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่นำไปสู่การเกิดโรคฟันผุ จากการสำรวจข้อมูลทางทันตสุขภาพเด็กนักเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพธิ์ จำนวน 46 คน พบว่ามีค่าเฉลี่ยฟันน้ำนมผุ ถอน อุด (dmft) เท่ากับ 80.43 ซึ่งมีค่าสูงกว่าระดับประเทศ แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพธิ์ยังไม่สามารถทำความสะอาดช่องปากได้ดีเท่าที่ควร นอกจากนี้ยังมีปัญหาทางด้านพฤติกรรมของเด็กนักเรียนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ โดยเฉพาะการรับประทานขนมกรุบกรอบหลังเลิกโรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์ ได้ตระหนักเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเด็กเล็กฟันสวย ศพด.ปลอดฟันผุ ขึ้นเพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากก่อนวัยเรียนอย่างเหมาะสม โดยมุ่งเน้นบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพและครอบคลุม เพื่อหวังให้เด็กมีทันตสุขภาพที่ดีและดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้องต่อไป
- 1. . จัดจ้างทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการรายละเอียด
- จัดจ้างทำป้ายไวนิล ขนาด 1.20 x 2.50 ม. จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน 450 บาท
งบประมาณ 450.00 บาท - 2. ตรวจสุขภาพช่องปากและทำแบบสำรวจพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคฟันผุรายละเอียด
- ค่าชุดสาธิตส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กใน ศพด. จำนวน 46 ชุด ประกอบด้วย 1.แปรงสีฟัน สำหรับเด็ก 3-6 ปี ราคาอันละ 30 บาท เป็นเงิน 1,380 บาท 2.ยาสีฟันฟูลโอคารีล ขนาด 65 กรัม สำหรับเด็ก ราคาหลอดละ 115 บาท 3.โมเดลตุ๊กตาหมีฟันน้ำนม ขนาด 25 นิ้ว ราคาตัวละ 2,530 บาท จำนวน 1 ตัว เป็นเงิน 2,530 บาท 4.แก้วน้ำพลาสติก ราคาใบละ 10 บาท เป็นเงิน 460 บาท รวมเป็นเงิน 4,600 บาท
งบประมาณ 4,600.00 บาท - 3. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กในการดูแลฟันเด็กและฝึกทักษะในการแปรงฟันแก่ผู้ปกครองแบบปฏิบัติจริงรายละเอียด
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ปกครอง/วิทยากร/ครู/เจ้าหน้าที่ จำนวน 56 คน ๆ ละ 1 มือ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,680 บาท
งบประมาณ 1,680.00 บาท - 4. ค่าตอบแทนวิทยากรสำหรับให้ความรู้ และสาธิตการแปรงฟันรายละเอียด
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
งบประมาณ 3,600.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
รวมงบประมาณโครงการ 10,330.00 บาท
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
- เด็กที่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคฟันผุได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีฟันผุเป็นรู ได้รับการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ รหัส กปท. L1501
อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ รหัส กปท. L1501
อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................