กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ หนูน้อยปลอดโรค ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลอง(ยะมะแต)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลอง(ยะมะแต)

1.นางสาวอัลวานี มามะ
2.นางสาวซอฟีย๊ะ มะมิง
3.นางรอฮานี ต่วนมิหนา
4.นางสุภาพร คชวรรณ์
5.นางสาวหนึ่งฤทัย ใหม่เพ็ชร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย อย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม ในปัจจุบันเด็กอายุ 2 -5ปี เป็นเด็กก่อนวัยเรียนที่เข้ารับการเตรียมความพร้อมที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กซึ่งเป็นสถานที่ที่มีเด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมากเมื่อเด็กเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย ในเด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคหวัดซึ่งปัญหาด้านสุขภาพนี้อาจมีสาเหตุมาจากตัวเด็กเล็กเองสภาพแวดล้อมตลอดจนปัจจัยในการเลี้ยงดูและพัฒนาการของเด็กแต่ละคนปัญหานี้อาจเกิดขึ้นได้ทั้งที่บ้านและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ปกครองและครูจึงต้องรู้เท่าทันและมีความรอบคอบในการเตรียมพร้อมรับมือ เพื่อป้องกันการเกิดโรคและการแพร่เชื้อ เพราะถ้ามีการเกิดโรคหรือแพร่เชื้อขึ้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องปิดศูนย์ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก ผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กเล็กทำให้ขาดรายได้อีกทั้งยังต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล
จากเหตุผลดังกล่าว เพื่อเป็นการตระหนักถึงความสำคัญและเตรียมความพร้อมในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตลอดจนการส่งเสริมให้เด็กเล็กมีสุขภาพที่ดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลอง(ยะมะแต) จึงได้ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลดอน จัดทำโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคหวัด แก่ เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง

ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายที่ดี

0.00
2 2. เพื่อให้เด็ก ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและอนามัยของเด็กเล็กที่ดี

ร้อยละ 80 เด็กปฐมวัยมีสุขภาพและอนามัยที่ดี

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 24
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 บรรยายความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid-19)

ชื่อกิจกรรม
บรรยายความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัดและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-  ค่าวิทยากรบรรยาย  3 ซม.× 600 บ. × 1 คน =  1,800 บาท -  ค่าป้ายไวนิลโครงการ = 500  บาท -  ค่าอาหารว่างวิทยากรและผู้เข้าร่วมอบรม 24 คน× 25 บาท =  600  บาท -  ค่า ATK 28 อันๆละ 100 บาท =2,800 บาท -หน้ากากอนามัย 2 กล่องๆละ 90 บาท =180 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5880.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,880.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็ก ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคหวัด อย่างถูกต้อง
2.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายที่ดี


>