กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู๋บ้านตำบลสากอ

1.นายมะไซดี บินมะไซดี
2.น.ส.นารีตายาคอ
3.น.ส.ซาลีหามะยูโซ๊ะ
4.น.ส.อาตีกาห์วานิ
5.นางอริสราวานิ

ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียง ผู้ด้อยโอกาสและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงรวมทั้งผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ เช่นด้านโภชนาการด้านการป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ

80.00 60.00
2 2.เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองในการดูแลสุขภาพ

2.สร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

70.00 60.00
3 3.เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังเล็งเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุและช่วยกันดูแล

3.สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้ชุมชนได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุป่วยติดเตียง ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการและช่วยกันดูแลต่อไป

70.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2022

กำหนดเสร็จ 30/07/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.อบรม

ชื่อกิจกรรม
1.อบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายไวนิลขนาด ๑x๒.๕เมตร จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน ๗๕๐บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม๒ มื้อๆละ ๒๕ บาทx 33คนเป็นเงิน 1, 650 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อๆละ 50บาทx33คนเป็นเงิน1,650บาท
4.ค่าวิทยากร จำนวน ๑ คน ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาทx๔ ชั่วโมงเป็นเงิน ๒,๔๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ดูแล ผลลัพธ์ ผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6450.00

กิจกรรมที่ 2 2.ลงเยี่ยมบ้าน

ชื่อกิจกรรม
2.ลงเยี่ยมบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดซื้ออาหารเสริมบำรุงสุขภาพสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม จำนวน 33 คน x 400 เป็นเงิน 13,200 บาท 2.ค่าจัดซื้ออุปกรณ์การดูแลและของใช้ที่จำเป็นแก่กลุ่มเป้าหมายที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เช่น ผ้าอ้อมสำเร็จรูป จำนวน 10 คน x 200 เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต จัดซื้ออาหารเสริมบำรุงสุขภาพ อุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและของใช้จำเป็น ผลลัพธ์ ลดค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ดูแลเด็กและทำให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ เช่น ด้านโภชนาการด้านการป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้ชุมชนได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุป่วยติดเตียง ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการและช่วยกันดูแลต่อไป


>