กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรบ้านไอสะเตียร์

1. น.ส.อานีราแวยูโซ๊ะ
2. นายชานนท์โสอุดร
3. นางเจ๊ะมิ เจ๊ะลี
4. นายมิฟตาอูดีนแวยูโซ๊ะ
5. น.ส.แวฮัฟซะห์อุสมันบาฮา

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรบ้านไอสะเตียร์ ต.บูกิตอ.เจาะไอร้องจ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้รู้ถึงคุณค่าของสมุนไพร

 

0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนและผู้สูงอายุได้ทำสมุนไพรแช่เท้าไว้ใช้เอง

 

0.00
3 เพื่อให้คนในครอบครัวเกิดความรักดูแลซึ้งกันและกัน

 

0.00

๑. เพื่อให้รู้ถึงคุณค่าของสมุนไพรไทยใกล้ตัว
๒. เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนและผู้สูงอายุได้ทำสมุนไพรแช่เท้าไว้ใช้เอง
๓. เพื่อให้คนในครอบครัวเกิดความรักดูแลซึ้งกันและกัน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/02/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑.อบรมทางกลุ่มและชาวบ้านให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น ๒. จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ สาธิตการทำ “สมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุภาพ “ ๓.สรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
๑.อบรมทางกลุ่มและชาวบ้านให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น ๒. จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ สาธิตการทำ “สมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุภาพ “ ๓.สรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าไวนิล“สมุนไพรท้องถิ่นและการนำมาใช้ประโยชน์” ขนาด ๑.๒ *  ๒.๔ เมตร    ๗๒๐   บาท -ค่าใบความรู้  ๔๐ ชุด       ๔๐ ชุด x  ๕ บาท    ๒๐๐   บาท
-ค่าวิทยากร  ชั่วโมงละ  ๖๐๐  บาท  x  ๖  ชั่วโมง   ๓,๖๐๐   บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเช้า  ๔๐ คน x๒๕บาท x 1 มื้อ x 1 วัน   ๑,๐๐๐  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มบ่าย ๔๐ คน x ๒๕ บาท x 1 มื้อ x 1 วัน    ๑,๐๐๐   บาท - ค่าอาหารกลางวัน            ๔๐ คน x ๖๐ บาท x 1 มื้อ x 1 วัน   ๒,๔๐๐  บาท -ค่าสมุนไพรและอุปกรณ์สำหรับแช่เท้า   ๓,๘๘๐   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. ร้อยละ ๕๐ ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพร
๒. ร้อยละ ๕๐ สามารถทำสมุนไพรแช่เท้าด้วยตัวเอง ๓. คนในครอบครัวดูแลเอาใจใส่ซึ้งกันและกันมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,800.00 บาท

หมายเหตุ :
ขอถัวเฉลี่ยทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. คนในชุมชนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้
๒. ผู้เข้าร่วมมีสุขภาพดีขึ้นจากการทำกิจกรรมแช่เท้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง


>