กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้ทันโรคภัยใกล้ใจผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน บ้านทุ่งพัฒนา.

1 นายฮาหรนปะดุกา
2 นางมารียำอุสนุน
3 นายนัฐกรหมาดยาหมู
4 นางสุนี หลีเยาว์
5 นางสาวมารียำ เด็นดารา

บ้านทุ่งพัฒนา.

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันประเทศไทยมีข้อมูลประชากรผู้สูงอายุเกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมดถือได้ว่าสังคมไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุอย่างแท้จริงจากสถานการณ์ผู้สูงอายุที่ทำให้เกิดภาวะพึ่งพิงสูงมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุมักมีปัญหาสุขภาพตามมาได้แก่ ปัญหาการได้ยินและการมองเห็น การสื่อสารและการเคลื่อนไหวของร่างกาย และอุบัติเหตุ ปัญหาในการขบเคี้ยวอาหารและการขับถ่าย ปัญหาสภาพจิตใจ โรคสมองเสื่อมปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่พบมาก 3 อันดับแรกของผู้สูงอายได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ นอกจากนั้นยังมีอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคมะเร็ง การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเป็นการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องอาจแบ่งผู้งสูงอายุออกเป็น3 กลุ่ม 1 ติดสังคมพึ่งพาตนเองได้ 2 ติดบ้าน ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง 3 ติดเตียง ผู้สูงอายุที่ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ต้องการช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการดูแลฟื้นฟูสุขภาพต่อเนื่อง จากการสำรวจของอสม ม10 มีผู้สูงอายุถึง 95 คน ไม่มีโรคเรื้อรังแค่ 30 อีก 65 คนนั้นมีโรคเรื้อรังต้องรับยาต่อเนื่องและในส่วนนั้นยังต้องการการดูแลแบบเฝ้าระวังต่อเนื่องเช่นคนไข้สโต้รก คนภาระพึ่งพิง อัมพฤกษ์ แต่ทางหมู่บ้านยังขาดอุปกรณ์ในการคัดกรองคือเครื่องวัดความดันทีจะคัดกรองเวลาลงดูแลจึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน สปสช. จากองค์การบริหารส่วนตำบลควนสตอในการจัดซื้ออุปกรณ์และการจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยประจำบ้านเพื่อที่จะได้นำความรู้ไปปฏิบัติในการดูแลเฝ้าระวังคนในครอบครัวต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ อสม และผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกวิธีและการคัดกรองความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ข้อที่ 3 เพื่อให้มีอุปกรณ์เครื่องวัดความดันไว้ในหมู่บ้านเพื่อคัดกรองความเสี่ยงของผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ อสมและผู้ดูแลสามารถดูแลและประเมินความเสี่ยงชองผู้สูงอายุได้ สร้างขวัญกำลังใจให้ผู้สูงอายุจากผู้มาเยียมก่อให้เกิดความสุขความสบายใจมีแรงสู้โรคต่อไป ทำให้เกิดความพร้อมให้กับทีม อสมและผู้ดูแล และได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ก่อให้เกิดความรักความสามัคคีในชุมชน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการรู้ทันโรคภัยใกล้ใจผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
โครงการรู้ทันโรคภัยใกล้ใจผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 อบรมให้ความรู้ อสม และผู้ดูแลผู้ป่วย ลงคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง  ค่าวิทยากร 2 คน/ละ3 ชั่วโมง เป็นเงิน=3600บ. ค่าอาหารกลางวัน 1มื้อ/ละ.50.บ20 คนเป็นเงิน 1,000  บาท ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ/ละ 25 บาท20 คนเป็นเงิน 1,000 บาท
.ค่าไวนิล 1,5x2 เมตร เป็นเงิน 300 บาท 1.1 กิจกรรมย่อย.เชิญเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลมาให้ความรู้แก่ อสม และผู้ดูแลผู้ป่วย
                . 1.2 กิจกรรมย่อยลงคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง.จัดซื้อเครื่องวัดความดัน
ค่าเครื่องวัดความดัน2เครื่อง/ละ2,700 บาทเป็นเงิน 5,400 บาท
1.3 กิจกรรมย่อย.จัดทำแผนการลงเยี่ยมคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 อบรมให้ความรู้ อสม และผู้ดูแลผู้ป่วย ลงคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง  ค่าวิทยากร 2 คน/ละ3 ชั่วโมง เป็นเงิน=3600บ. ค่าอาหารกลางวัน 1มื้อ/ละ.50.บ20 คนเป็นเงิน 1,000  บาท ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ/ละ 25 บาท20 คนเป็นเงิน 1,000 บาท
.ค่าไวนิล 1,5x2 เมตร เป็นเงิน 300 บาท 1.1 กิจกรรมย่อย.เชิญเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลมาให้ความรู้แก่ อสม และผู้ดูแลผู้ป่วย
                . 1.2 กิจกรรมย่อยลงคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง.จัดซื้อเครื่องวัดความดัน
ค่าเครื่องวัดความดัน2เครื่อง/ละ2,700 บาทเป็นเงิน 5,400 บาท
1.3 กิจกรรมย่อย.จัดทำแผนการลงเยี่ยมคัดกรองผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-อสมและผู้ดูแลผู้ป่วยไดนำความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
-ผุ้ป่วยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
-สามารถส่งต่อผู้ป่วยได้ทันท่วงที


>