กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพวัยเจริญพันธุ์ เตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

 

91.38
2 ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

 

91.38

ปัจจุบันจะพบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง ถือว่าเป็นปัญหาที่รุนแรง เพราะอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เอง และทารกในครรภ์ด้วย ภาวะเสี่ยงของหญิงที่ตั้งครรภ์ ได้แก่ ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซีด มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมักมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม มีอัตราการตายขณะคลอดและหลังคลอดสูง มารดาตกเลือดหลังคลอด มีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง และมีโอกาสติดเชื้อในกระแสเลือดสูง เช่นกัน สาเหตุสำคัญของภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ การขาดสารอาหาร จำพวกธาตุเหล็ก และ กรดโฟลิค
จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ พบว่า ในปีงบประมาณ 2564 ยังมีหญิงตั้งครรภ์บางส่วนที่ยังไม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 8.62 และยังไม่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 8.82 ปัญหาเหล่านี้ อาจจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก สติปัญญาในการเรียนรู้ และยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของครอบครัว จากปัญหาดังกล่าวนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการการส่งเสริมสุขภาพวันเจริญพันธุ์ เตรียมพร้อมอย่างไรให้พร้อมก่อนตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 25ุ65

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)

91.38 80.00
2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น

91.38 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
หญิงวัยเจริญพันธุ์/หญิงตั้งครรภ์ 75

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ การดูแลตัวเองขณะตั้งครรภ์ และ ภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ การดูแลตัวเองขณะตั้งครรภ์ และ ภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คน * 25 บาท2 มื้อ = 3,750 บาท 2.ค่าอาหาร จำนวน 75 คน *60 บาท * 1 มื้อ = 4,500 บาท 3.ค่าวิทยากร 6 ชม. * 600 บาท 1 วัน = 3,600 บาท 4.ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.5 * 2เมตร * 250 บาท * 1 ผืน = 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
2.หญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ร้อยละ 80


>