แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต รหัส กปท. L2479
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนถือว่ามีความสำคัญต่อการป้องกันร่างกายไม่ให้เกิดโรคติดต่อบางชนิดได้ และโรคส่วนใหญ่ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมักไม่มียารักษา เมื่อเกิดโรคชนิดนั้นๆได้ การสร้างเสริมถูมิคุ้มกันด้วยวัคซีนถือว่าเป็นวิธีการป้องกันที่ดีที่สุดในปัจจุบัน แต่ในปัจจุบันผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มักจะไม่พาบุตรหลานมาฉีดวัคซีน มีสาเหตุเพราะกลัวจะเกิดอาการไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะอาการไข้ ปวด บวม และแดง บริเวณที่ฉีด และมีความเชื่อในเรื่องของศาสนาว่าวัคซีนไม่ฮาลาล จึงไม่พาบุตรหลานมาฉีดวัคซีน และปัญหาภาวะโภชนาการ พัฒนาการ โรคที่เกิดขึ้นในเด็ก ถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่ยังคงพบได้บ่อย โดยเฉพาะกลุ่มเด็กแรกเกิด - 5 ปี จัดเป็นกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วน พัฒนาการล่าช้า และโรคซีดที่เกิดในเด็กเนื่องจากเมื่อร่างกายขาดธาตุเหล็ก ก็จะทำให้ไม่มีธาตุเหล็กไปใช้ในการเติบโต ส่งผลให้กระดูกไม่แข็งแรง เปราะง่าย และอาจจะผอม ตัวเตี้ยกว่าเด็กในวัยเดียวกันภาวะซีดอาจส่งผลให้สมองทำงานได้ช้าลง พบว่า ความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ ปี 2564 ค่อนข้างต่ำ ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 56.25ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 54.85 ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 64.81 และความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 75 และในปัจจุบันมีโรคติดต่อมากมายที่เกิดจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคหัด โรคคอบตีบ โรคไอกรน จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมความครอบคลุมของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนที่สามารถป้องกันโรค ได้ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
-
1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้นตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์ขนาดปัญหา 64.81 เป้าหมาย 70.00
-
2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการ (ให้เด็กอายุ 0-5 ปี) ส่วนสูงดีสมส่วนตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนขนาดปัญหา 43.85 เป้าหมาย 70.00
- 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและ การส่งเสริมโภชนาการรายละเอียด
กิจกรรม.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและส่งเสริมโภชนาการ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน * 25 บาท*2 มื้อ = 3,500.-บาท 2.ค่าอาหาร จำนวน 70 คน *60 บาท * 1 มื้อ = 4,200.-บาท 3.ค่าวิทยากร 6 ชม. * 600 บาท * 1 วัน = 3,600.-บาท 4.ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.5 * 2 เมตร * 250 บาท * 1 ผืน =750.-บาท 5.ค่าสาธิตอาหาร =3,000.-บาทงบประมาณ 15,050.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ
รวมงบประมาณโครงการ 15,050.00 บาท
1.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0- 5 ปี เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 2.ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 3.เด็กอายุ0-5ปี ส่วนสูงดีสมส่วน
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต รหัส กปท. L2479
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต รหัส กปท. L2479
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................