กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

พัฒนาโปรแกรมคัดกรองเบาหวานความดัน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล

ชมรม อสม.PCU3 โรงพยาบาลเทพา

นายจีฮาร สาเหม๊าะ นางดวงดาว นินวน นางสาวจุไรรัตน์ ล่าหับ นางรอซีด๊ะ หะแย นางอาซีเยาะ มุเซะ นางณัฎชลิตา หมันเจริญ

หมู่4แม่ที หมู่ 10 ทุ่งพระยอด หมู่ 13 ทุ่งลานช้าง ต.ลำไพล อ.เทพา จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ประชากรได้รับการคัดกรองความดันเบาหวาน ปีละครั้ง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่เห็นถึงความต่อเนื่องของผลการเปลี่ยนแปลงค่าของความดันและน้ำตาลในเลือดแบบทันทีทันไดตลอดเวลา( real time ) ยังพบประชากรที่มีปัญหาแทรกซ้อนด้านเส้นเลือดสมองซึ่งเกิดจากความดันสูงที่ไม่ได้รับการติดตามเฟ้าระวังอย่างต่อเนื่องอยู่ ร้อยละ 5 ของประชากรกลุ่มเสี่ยง จึงควรมีเครื่องมือคัดกรองที่สามารถสื่อสารค่าความดันรายบุคคุลของประชาชนที่สามารถวัดและสื่อสารไปถึงเจ้าหน้าที่่ ให้สามารถพิจารณาได้ทันก่อนจะมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ซึ่งโปรแกรมนี้สามารถลงข้อมูลผ่านมือถือได้ทันทีทุกที่ ทุกเวลา โดยประชาชนกลุ่มเป้าหมายหรืออสม.

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

ของประชากรได้รับการคัดกรอง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงเป็นความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ 3

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อมสร้างโปรแกรมที่ใช้ในคอมพิวเตอร์และมือถือ

ชื่อกิจกรรม
เตรียมความพร้อมสร้างโปรแกรมที่ใช้ในคอมพิวเตอร์และมือถือ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมทำความเข้าใจกับทีมสร้างโปรแกรม 10 คน ค่าอาหารว่าง ค่าอาหาร 500 บาท ค่าวิทยากรเขียนโปรแกรม ค่าจ้างโปรแกรมเมอร์ 5000 บาท อบรมทดลองใช้งาน หมู่ละ 50 คน รวม 150 คน ค่าอาหารว่าง 3750 บาท ค่าวัสดุสำนักงานกระดาษ ที่ใช้ในการอบรม กระดาษ 200 บาท ปากกา2กล่อง150 ดินสอ2กล่อง150 บาท ปากกาเคมี 2กล่อง 300กระดาษแข็ง 200 ชี้แจงวิธีใช้งานโปรแกรมให้ทีมพี่เลี้ยงและ อสม 58 คนรวม 68 คน ค่าอาหารและอาหารว่าง 3400 บาท นำเสนอโปรแกรมการใช้งานให้กลุ่มเป้าหมายใช้งาน โดย ทีมอสม.ออกไปทำความเข้าใจและแนะนำดาวน์โหลดและเริ่มใช้งานตามครัวเรือนที่รับผิดชอบ ค่าน้ำอาหารว่างออกหมู่บ้าน อสม.และทีมพี่เลี้ยง รวม 68 คน3400 บาท ประชุมถอดบทเรียนและประเมินผลการใช้งานโปรแกรม อสม.และทีมพัฒนาโปรแกรม 68 คนค่าอาหารและอาหารว่าง3400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถส่งผลการคัดกรองด้วยตัวเองผ่านโปรแกรมมือถือได้ 100 %

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนสามารถคัดกรองความดันเบาหวานด้วยตัวเองโดยใช้โปรแกรมการส่งข้อมูลผ่านมือถือ ที่ทันสมัยและทราบผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงของตัวเองได้อย่างทั่วถึง เพื่อสร้างการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดได้จากโรค NCD และส่งเสริมให้ประชาชนมีการตื่นตัวที่จะป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรค NCD ต่อไปอย่างยั่งยืน


>