กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการดูแล ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง

ศูนย์บริการคนพิการอบต.กาลูปัง

ตำบลกาลูปัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๗ องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการ และบริการทางสังคม จัดบริการและสงเคราะห์แก่ผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และการจัดให้มีศูนย์บริการผู้สูงอายุและชุมชนสาธารณสุขกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ตามชุดสิทธิประโยชน์ให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านส่งเสริมสุขภาพด้านการป้องกันโรคด้านการรักษาพยาบาล และด้านการฟื้นฟูสุขภาพแบบองค์กรรวมและต่อเนื่องโดยเน้นด้านการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจตระหนักที่จะดูแลสุขภาพของตนเองร่วมกัน
การเยี่ยมบ้านกลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงเป็นการบริการด้านสุขภาพในเชิงรุกอีกวิธีหนึ่งเป็นกลวิธีที่มีความสำคัญ ต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน ในปัจจุบัน มีกลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงมีจำนวนมาก กลุ่มคนพิการ จำนวน 101 คน ผู้สูงอายุ จำนวน 387 คน และมีแนวโน้มมากขึ้นเรื่อย ซึ่งเป็นปัญหามากในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย และจิตใจ กิจกรรมหลักคือ การสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการให้บริการ รัฐบาลจึงมีนโยบายชัดเจนทางด้านสุขภาพ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างสุขภาพการให้ขวัญและกำลังใจดูแลผู้ป่วยกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงและสามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาสุขภาพอนามัยขั้นพื้นฐานได้และเพื่อให้ประชาชนมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้นในการดูแลตนเองควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ เป็นผลให้ประชากรมีสุขภาพดีขึ้นทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม การสร้างสุขภาพจะให้มีประสิทธิผล ดังนั้น ทางศูนย์บริการคนพิการตำบลกาลูปัง จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง และผู้ด้อยโอกาสทางสังคมขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๓.๑ เพื่อให้ผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ได้รับบริการด้าน สาธารณสุขอย่างเหมาะสมทั่วถึงและ ต่อเนื่อง ๓.๒ เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก แก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ๓.3 เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรัง 3.4 เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส

กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและต่อเนื่อง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ

ชื่อกิจกรรม
การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑  เสนอโครงการต่อผู้บังคับบัญชา ๒  ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านอาสาสมัคร ฯ   ผู้นำชุมชน  และหัวหน้ากลุ่มต่าง ๆ 3 เตรียมอุปกรณ์  เอกสารต่าง ๆ ในการดำเนินกิจกรรม ๔  ดำเนินงานตามโครงการ ๕  ติดตามและประเมินผล/รายงานการดำเนินงานตามโครงการ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ.....ตำบลกาลูปัง........
จำนวน .............12,000...................... บาท (.......เงินหนึ่งหมื่นสองพันบาทถ้วน............................) รายละเอียด  ดังนี้
1  ค่าอาหารกลางวัน...20  คน ราคากล่องละ 70 บาท        เป็นเงิน  .......1,400...............  บาท 2  ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม.จำนวน 1 มื้อ/35บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน  .. 700...............  บาท 3  ค่าป้ายโครงการ.จำนวน 1 ป้าย.........                เป็นเงิน  ........1,000...............  บาท 4  ค่าวิทยากร..จำนวน 1 คน...จำนวน 3 ชม./ละ 600 บาท    เป็นเงิน .........1,800...............  บาท 5  ค่า.เครื่องอุปโภคบริโภค จำนวน 20 ชุด ชุดละ 355 บาท  เป็นเงิน ..........7,100................ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและต่อเนื่อง
๒. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริม และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
๓. กลุ่มเป้าหมายไม่ถูกทอดทิ้งได้รับการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นและส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพบุคลากรทางการแพทย์
๔. กลุ่มเป้าหมาย และผู้ดูแลมีขวัญกำลังใจและมีสุขภาพจิตที่ดี
๕. ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลซึ่งกันและกัน ไม่ทอดทิ้งกัน มีจิตสำนึกที่ดีต่อชุมชนและส่วนรวม ในการป้องกันและพัฒนาให้ชุมชนมีความเจริญอย่างยั่งยืน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและต่อเนื่อง
๒. กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริม และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
๓. กลุ่มเป้าหมายไม่ถูกทอดทิ้งได้รับการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นและส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายของรัฐในการดำเนินงานบูรณาการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยทีมสหวิชาชีพบุคลากรทางการแพทย์
๔. กลุ่มเป้าหมาย และผู้ดูแลมีขวัญกำลังใจและมีสุขภาพจิตที่ดี
๕. ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลซึ่งกันและกัน ไม่ทอดทิ้งกัน มีจิตสำนึกที่ดีต่อชุมชนและส่วนรวม ในการป้องกันและพัฒนาให้ชุมชนมีความเจริญอย่างยั่งยืน


>