กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประชาชนร่วมใจพิชิตภัยด้านโรคโคโรน่าไวรัส(COVID-19) เครือข่ายสุขภาพบริการ ตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

รพ.สต.บ้านบันนังดามา

ตำบลกาบัง ม.1,ม.2,ม.8

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 256

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 96
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 06/06/2022

กำหนดเสร็จ 01/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะผู้เกี่ยวข้องเพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน แบ่งงาน หน้าที่รับผิดชอบ ๒. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ๓ ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ชื่อกิจกรรม
๑. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะผู้เกี่ยวข้องเพื่อแต่งตั้งคณะทำงาน แบ่งงาน หน้าที่รับผิดชอบ ๒. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ๓ ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 96 คนx50บาทx1มื้อ                                     เป็นเงิน       4,800  บาท                                    -ค่าอาหารว่างและเครื่องและเครื่องดื่ม จำนวน 96คนx35บาทx2มื้อ                     เป็นเงิน       6,720  บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน5ชั่วโมงๆละ300บาทx2วัน                               เป็นเงิน       3,000  บาท -ค่าจัดทำป้ายไวนิลขนาด 2 เมตรx 2.5 เมตรx 250 บาท                                 เป็นเงิน       1,250 บาท

                                 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 15,770 บาท( หนึ่งหมื่นห้าพันเจ็ดร้อยเจ็ดสิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง เฝ้าระวัง สังเกตอาการก่อนติดเชื้อและหลังรักษาหายจาก  โรคติดต่อได้ (COVID-19) ๒.ประชาชนในพื้นที่ตำบลกาบัง สามารถป้องกัน เข้าถึงบริการ ได้รับการรักษาทันเวลาป้องกันการติดเชื้อ ส่งต่อ อย่างเป็นระบบ จากโรคติดต่อ (COVID-19) ๓.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15770.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,770.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑ ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง เฝ้าระวัง สังเกตอาการก่อนติดเชื้อและหลังรักษาหายจากโรคติดต่อได้ (COVID-19)
๒.ประชาชนในพื้นที่ตำบลกาบัง สามารถป้องกัน เข้าถึงบริการ ได้รับการรักษาทันเวลาป้องกันการติดเชื้อ
ส่งต่อ อย่างเป็นระบบ จากโรคติดต่อ (COVID-19)
๓.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ


>