กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวานมันเค็ม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบลบูกิต

นางเจ๊ะซูรอยนีแงมะ
นางกาเยาะแซะ
นางสาวรุสนาณีเจ๊ะยะ
นางซีซะอูเซ็ง
นางแวเซาด๊ะห์ดอเล๊าะ

ตำบลบูกิต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาหารหวานมันเค็มคือหนึ่งในสาเหตุหลักของการเกิดโรคร้ายที่เรียกว่าNCDsหรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งได้แก่โรคเบาหวานกลุ่มโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจโรคมะเร็งโรคถุงลมโป่งพองโรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วนลงพุงซึ่งในปัจุจุบันกลุ่มโรคเหล่านี้คือสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของคนไทยซึ่งตัวการหลักในอาหารที่แสนอร่อยที่ก่อให้เกิดโรคNCDs นั้นไม่ว่าจะเป็นในอาหารแปรรูปขนมหรือเครื่องดื่มต่างๆ ก็คือน้ำตาลไขมันและโซเดียมกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบลบูกิตได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาเหล่านี้ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้เรื่องของโภชนาการจึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการบริโภคอาหารลดหวานมันเค็มลงได้

 

0.00
2 เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนให้ประชาชนหันมาสนใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีกันถ้วนหน้า

 

0.00

1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการบริโภคอาหารลดหวานมันเค็มลงได้
2.เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนให้ประชาชนหันมาสนใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
3.เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีกันถ้วนหน้า

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับประทานอาหารหวานมันเค็มและแนวทางในการลด ละ เลิกการบริโภคอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยมีงบประมาณดังนี้1.ค่าตอบแทนวิทยากร1 คน 6 ชั่วโมง ๆ ละ600เป็นเงิน3,600บาท2.ค่าอาหารมื้อกลางวัน30 คน ๆ ละ60บาทเป็นเงิน1,800 บาท3.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม30 คน ๆ ละ25บาท2มื้อเป็นเงิน1,500บาท4.ค่าป้ายไวนิลขนาด1.2*2.4เมตรเป็นเงิน720่บาท5.ค่าจัดทำคู่มือประกอบการทำโครงการ30ชุด ๆล ะ 50บาทเป็นเงิน1,500บาท6.ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบโครงการ30ชุด ๆ ละ80บาทเป็นเงิน2,400บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11520.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,520.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการเลือกบริโภคอาหารมากยิ่งขึ้น


>