กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารและยาปลอดภัยใส่ใจสุขภาพรพ.สต.บาละ ประจำปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ

นางสาวซัลวาซามะตาหยง

ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาละในหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ จำนวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ ม.1,ม.3,ม.4,ม.5,ม.9,10.. ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

ปัจจุบันคุณภาพชีวิตด้านสภาวะสุขภาพที่ดี มีผลมาจากการบริโภคสิ่งต่างๆในชีวิตประจำวันเป็นปัจจัยสำคัญไม่ว่าจะเป็นการบริโภคด้านบริการสุขภาพ ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ดังนั้นการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขจึงต้องดำเนินการเริ่มตั้งแต่ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ใช้บริโภคนั้นต้องมีมาตรฐานและปลอดภัยปราศจากการปนเปื้อนสารเคมีและเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรครวมถึงการตรวจสอบ ควบคุม ความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องทำอย่างเป็นระบบโดยเริ่มตั้งแต่การตรวจสอบ ควบคุมวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการผลิต กระบวนการแปรรูป กระบวนการผลิต กระบวนการจัดจำหน่าย ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อยู่ในการดูแลของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่อาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุเสพติด และวัตถุอันตรายทางสาธารณสุขฯลฯ ต้องเฝ้าระวัง ควบคุม ตรวจสอบให้ได้มาตรฐานและปลอดภัยกับผู้บริโภค ส่วนด้านการการบริการสุขภาพ ก็มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่สถานบริการด้านสาธารณสุขต้องมีมาตรฐานการบริการที่มีคุณภาพและปลอดภัยเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน
จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา มีร้านชำ ร้านอาหาร ร้านเสริมสวย และร้านจำหน่ายในชุมชนทั้งหมด 60 ร้าน จากการสำรวจ พบว่ามีร้านที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ไม่ถูกต้อง บางร้านจำหน่ายยาชุด ยาปฏิชีวนะ และเครื่องสำอางมีฉลากไม่ถูกต้อง ร้านชำที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 60
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา เล็งเห็นความสำคัญของ
ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็นด้านการบริโภค ด้านบริการสุขภาพ ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการใช้ยาอย่างปลอดภัย การเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพและการให้ความรู้แก่ประชาชน รวมถึงประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยและประโยชน์สูงสุด

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.อาหาร/ยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำแก่ผู้ประกอบการ พร้อมฝึกปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อน แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย ร้านเสริมสวยในเขตรับผิดชอบ 6 หมู่

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.อาหาร/ยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำแก่ผู้ประกอบการ พร้อมฝึกปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อน แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย ร้านเสริมสวยในเขตรับผิดชอบ 6 หมู่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.อาหาร/ยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำแก่ผู้ประกอบการ  พร้อมฝึกปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อน แก่ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย ร้านเสริมสวยในเขตรับผิดชอบ 6 หมู่           -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  มื้อละ 25 บาท x 60 คน x 2 มื้อ                เป็นเงิน  3,000.-  บาท           -ค่าอาหารกลางวัน     มื้อละ 60 บาท x 60 คน x 1 มื้อ                        เป็นเงิน  3,600.-  บาท           -ค่าสัมมนาคุณวิทยากร  300 บาท x 5 ชม.                                       เป็นเงิน  1,500.-   บาท                                                                                                รวมเป็นเงิน  8,100.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับพรบ.ยาและยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำ
2 ประชาชนมีความรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อ ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้อย่างถูต้องและปลอดภัย ลดความคลาดเคลื่อนจากการใช้ยา ประชาชนได้รับยาอย่างปลอดภัย
3 การโฆษณาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมายในชุมชนลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8100.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในเลือด แก่แกนนำชุมชน แกนนำสุขภาพ/แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน (6 หมู่บ้านหมู่ละ 20 คน)

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในเลือด แก่แกนนำชุมชน แกนนำสุขภาพ/แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน (6 หมู่บ้านหมู่ละ 20 คน)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในเลือด แก่แกนนำชุมชน แกนนำสุขภาพ/แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค  และประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน (6 หมู่บ้านหมู่ละ 20 คน)       -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  มื้อละ 25 บาท x 120 คน x 1 มื้อ (6 หมู่บ้าน)     เป็นเงิน  3,000.-  บาท       -ค่าสัมมนาคุณวิทยากร  300 บาท x 2  ชม.  x 6  หมู่บ้าน                          เป็นเงิน  3,600.-  บาท       -ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2 * 2.4 เมตรๆละ  250 จำนวน 1 ป้าย            เป็นเงิน     720.-  บาท                                                                                                รวมเป็นเงิน 7,320.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับพรบ.ยาและยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำ
2 ประชาชนมีความรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อ ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้อย่างถูต้องและปลอดภัย ลดความคลาดเคลื่อนจากการใช้ยา ประชาชนได้รับยาอย่างปลอดภัย
3 การโฆษณาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมายในชุมชนลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7320.00

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อ เกี่ยวกับการใช้อาหารและยาอย่างปลอดภัย และเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อ เกี่ยวกับการใช้อาหารและยาอย่างปลอดภัย และเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อ เกี่ยวกับการใช้อาหารและยาอย่างปลอดภัย          และเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน              -ป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด 1.2 * 2.4 เมตรๆละ 250
              จำนวน 6 ป้าย                                                                       เป็นเงิน 4,320.-   บาท รวมเป็นเงิน 4,320.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับพรบ.ยาและยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำ
2 ประชาชนมีความรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อ ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้อย่างถูต้องและปลอดภัย ลดความคลาดเคลื่อนจากการใช้ยา ประชาชนได้รับยาอย่างปลอดภัย
3 การโฆษณาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมายในชุมชนลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4320.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,740.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับพรบ.ยาและยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำ
2 ประชาชนมีความรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อ ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้อย่างถูต้องและปลอดภัย ลดความคลาดเคลื่อนจากการใช้ยา ประชาชนได้รับยาอย่างปลอดภัย
3 การโฆษณาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมายในชุมชนลดลง


>