กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านละหาด

นางเจนจิรา ณ ดา

หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 12 ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ซึ่งมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หลายชนิด ซึ่งสารเคมีที่ใช้มีทั้งคุณและโทษ การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ไม่ถูกต้องและขาดความรู้ขาดความ ระมัดระวังย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้และผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีการปนเปื้อนสารเคมีนั้นได้ทั้งทางร่างกาย และจิตใจ เช่น โรค ภาวะผิดปกติต่างๆ ความเครียด เป็นต้น จากข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๕๓ พบว่า จังหวัดสุพรรณบุรี มี ผู้ป่วยด้วยโรคพิษจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวน ๑๐๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ ๑๒,๐๘ ต่อประชากร แสนคน สูงกว่าอัตราป่วยระดับประเทศที่พบ ๓.๒๗ ต่อแสนประชากร นอกจากนี้ยังพบว่า ช่วงระยะเวลา ๕ ปีที่ผ่าน มา ผู้ป่วยโรคพิษจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีแนวโน้มเพิ่มจำนวนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มอายุที่ป่วยมาก ที่สุด คือ กลุ่มอายุระหว่าง ๔๕-๕๔ ปี ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรวัยแรงงาน กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเกษตรกรเป็นกลุ่มที่พบ จํานวนผู้ป่วยมากที่สุด
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร เป็นปัญหาสำคัญและส่งผลกระทบต่อ สุขภาพของประชาชนในพื้นที่อย่างหนักเลี่ยงไม่ได้ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีความเสี่ยงต่อการ ได้รับสารเคมีสะสมในร่างกายและจากผลการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลบ้านละหาด จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปี ๒๕๑๕ ขึ้นเพื่อเฝ้า ระวังและป้องกันโรคอย่างต่อเนื่องครอบคลุมและทั่วถึง จัดบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มเกษตรกรที่เป็นกลุ่มอาชีพเสียง จำนวน ๓๔๕ ครัวเรือน เป็นการจัดบริการเชิงรุก ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลอย่างครบวงจร เกิดพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะส

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เกษตรกรและผู้ประกอบอาชีพที่สัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้รับความรู้ด้านการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง

 

0.00
2 ๒. เพื่อให้เกษตรกรและผู้ประกอบอาชีพสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างทั่วถึงเท่าเทียม ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย กับกลุ่มที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย กับกลุ่มที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน * 75 บาท * 1 วัน เป็นเงิน 6000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 80 คน *2 มื้อ * 25 บาท * 1 วัน เป็นเงิน 4000 บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1800 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์/เอกสารในการจัดอบรมและกิจกรรมสมุนไพรล้างพิษ เป็นเงิน 6600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2022 ถึง 31 ธันวาคม 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกษตรกรและผู้สัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชมีพฤติกรรมในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
2. เกษตรกรและผู้สัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม
3. ๓. ชุมชน องค์กรต่างๆร่วมกันดูแลสุขภาพเกษตรกร ลดความเสี่ยงจากการทำงาน


>