กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจองถนน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ วิถีแห่งพอเพียง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจองถนน

โรงเรียนวัดแหลมจองถนน

1.นายเอกคณิต สิทธิศักดิ์
2.นางสาวนวิยา หมิยิ
3.นางอารมณ์ ขวัญเนียม
4.นางสาวสุปราณี รวดเร็ว
5.นางสาวสุวีณา บุญมี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้มีความพอเพียงกับตนเองอยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้างฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้มีความพอกินพอใช้ ไม่มุ่งหวังแต่ผลกำไร ปฏิบัติตนในทางสายกลาง มีกิน มีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ความมีเหตุผล และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ซึ่งการเรียนรู้ทฤษฎีเกี่ยวกับแนวคิดเกษตรพอเพียง ที่มีการจัดสรรและใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดังนั้นการให้ความรู้ และส่งเสริมการทำการเกษตรที่เลียนแบบธรรมชาติ ที่ไม่ใช้สารเคมี เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงบำรุงให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรงสามารถ ต้านโรคและแมลงด้วยตนเองรวมถึงการนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้เราสามารถบริโภคผลผลิตพืชผัก ผลไม้ที่ไม่มีสารเคมีตกค้าง อีกทั้งยังไม่ทำลายสภาพแวดล้อมอีกด้วย
ดังนั้น โรงเรียนวัดแหลมจองถนน ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องส่งเสริม สนับสนุน ให้นักเรียนในโรงเรียนได้เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และนำไปใช้ปฏิบัติจริง เพื่อให้นักเรียนบริโภคผลผลิตปลอดสารเคมี ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม สามารถนำผลผลิตที่ได้มาแปรรูปในการประกอบอาหารกลางวันเพื่อรับประทานที่โรงเรียนได้ จึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมเกษตรอิทรีย์ วิถีแห่งพอเพียง ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการเกษตรอินทรีย์ วิถีพอเพียง

1.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการเกษตรอินทรีย์

0.00
2 2. เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ชีวิตตามวิธีพอเพียง

2.1 นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ชีวิตตามวิธีพอเพียง

0.00
3 3. เพื่อให้นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

3.1 ร้อยละ 80 ของเด็กนักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการเกษตรอินทรีย์
2. นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ชีวิตตามวิธีพอเพียง
3. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน


>