กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา

อสม. หมู่ที่ 7

1. น.ส.อินตรานีสะมะแอลีมา
2. น.ส.นุรซาฮีดาบราเฮง
3. นางอัดสมีดาหะยุมามุ
4. นางฟากีละห์โตสแน
5. น.ส.ยัสราณีบอสู

ตำบลลำพะยาอำเภอเมืองจังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่สร้างความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมกราคม - กันยายนของทุกปี ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีอย่างต่อเนื่อง ทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นจึงควรมีการดำเนินการป้องกันและควบคุม ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำประชาชน องค์กร ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ดังนั้นทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำเนียบ ตำบลลำพะยา จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อเป็นการควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน แลเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนร่วมมือกันกำจัด และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นการลดจำนวนยุงที่ติดเชื้อ และลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก

1.ประชาชนจำนวน 70 คน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากการทำแบบสอบถามก่อน/หลังการอบรม

0.00
2 2.เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการช่วยกันดูแล และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกของประชาชน

2.ประชาชนสามารถป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยตนเอง

0.00
3 3.เพื่อสร้างความตระหนักของประชาชน และองค์กรในพื้นที่ในการรณรงค์ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย และสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี

3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกกลุ่มอายุ ไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน

0.00
4 4.เพื่อป้องกันอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกกลุ่มอายุ ไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน

4.ค่า HI,CI ไม่เกินร้อยละ 10

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1 จัดอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
1 จัดอบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมย่อย.......จัดอบรมให้ความรู้การป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ประชาชน จำนวน 70 คน

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน x 1 มื้อ
x 60 บาท x 1 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน x 2 มื้อ x 25 บาท x 1 วัน          เป็นเงิน 3,500 บาท -.ค่าวิทยากร 1 คน x 300 บาท x 6 ชม. x 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท -ป้ายไวนิล 1 x 3 เมตร เป็นเงิน 1,000 บาท -ค่าวัสดุในการจัดอบรม เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนมีความร่วมมือร่วมใจในการรณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยและสถานที่ทำงานให้
ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
3.ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
4. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร


>