กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ รหัส กปท. L4153

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแล
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล การส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กช่วงอายุ 0-3 ปี จะต้องเริ่มจากแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ ทั้งนี้เพราะฟันของลูกเริ่มสร้างขณะที่ลูกอยู่ในครรภ์ของแม่ ภาวะโภชนาการและสุขภาพของแม่ จึงส่งผลโดยตรง ต่อพัฒนาการการสร้างฟันของลูกขณะที่อยู่ในครรภ์นั่นเอง โรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เนื่องจากสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ โดยสามารถถ่ายทอดเชื้อจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กสู่ลูกได้ การเกิดฟันผุในน้ำนมมีปัจจัยทีเกี่ยวข้องสอดคล้องกับฟันแท้ แต่มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน เพราะเป็นฟันผุที่เกิดกับเด็กในช่วงอายุน้อย ซึ่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาหลายด้าน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้แก่ ฟัน อาหาร จุลินทรีย์ รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันของเด็ก ซึ่งมารดามีบทบาทสำคัญต่อภูมิคุ้มกันของลูก ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้ว ยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็ก บุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตนเอง และอาจมีผลต่อการเกิดฟันผุและพัฒนาการของฟันแท้ด้วย นอกจากนี้พบว่า เด็กที่มีฟันน้ำนมผุ โอกาสที่ฟันแท้จะผุมีมากกว่าเด็กที่ไม่มีฟันน้ำนมผุสาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนใหญ่ในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง การทำความสะอาดช่องปาก ฐานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา อาชีพ ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ทัศนคติกับการตระหนักถึงสุขภาพช่องปาก รวมถึงสุขภาพช่องปากของพ่อแม่ ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นหนึ่งในปัจจัยทางชีวภาพด้านสุขภาพของเด็กปฐมวัย ซึ่งจากการศึกษาของกรมอนามัย เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัยไทยล่าสุด พบว่าเด็กปฐมวัยที่ไม่มีปัญหาสุขภาพช่องปากมีโอกาสที่จะพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น 1.43 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก และจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย ยังคงพบความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 52.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 2.8 ซี่/คน สาเหตุที่เด็กก่อนวัยเรียนมีสภาวะฟันน้ำนมผุสูงเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูดนมขวดคาปาก การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนมเป็นประจำ การไม่ดูดน้ำตามหลังดูดนมการทำความสะอาดช่องปากไม่สม่ำเสมอ เด็กกลุ่มนี้มีอัตราการผุ ถอน อุด เป็นด้าน โดยเฉลี่ยสูงกว่าเด็กที่ถูกเลี้ยงดูในทางตรงข้าม เด็กที่ถูกเลี้ยงโดยพี่เลี้ยง ญาติหรือฝากคนอื่นเลี้ยงมีอัตราเฉลี่ย ผุ ถอน อุด สูงกว่าเด็กที่มารดาเลี้ยง การชอบรับประทานของหวาน การแปรงฟันน้อยกว่าวันละ ๒ ครั้ง หรือไม่แปรงฟันเลย และการที่เด็กไม่เคยพบทันตแพทย์เลย มีผลต่อการเกิดฟันผุของเด็กวัยนี้เช่นกัน การให้ความรู้ในกลุ่มผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กจึงเป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัย 0-3 ปี จากการสำรวจข้อมูลทางทันตสุขภาพเด็กนักเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแล จำนวน 81 คน พบว่ามีเด็กที่มีสุขภาพฟันที่ต้องได้รับการดูแลประมาณ 30 คน แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแล ไม่สามารถทำความสะอาดช่องปากได้ดีเท่าที่ควร การป้องกันฟันผุในเด็กเล็กที่ง่ายและได้ผลดีที่สุด คือ ผู้ปกครองควรแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มขึ้นด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ และแปรงฟันให้ต่อเนื่องจนกว่าเด็กมีพัฒนาการข้อมือที่แข็งแรง ประมาณอายุ 7-8 ปี เด็กจึงจะสามารถแปรงฟันได้เอง โดยมีผู้ปกครองเน้นเรื่องความสะอาดและการแปรงฟันเป็นประจำจนเป็นนิสัย การให้ความรู้ความเข้าที่ถูกต้องกับผู้ปกครองจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้สามารถแนะนำวิธีที่ถูกต้องในการรักษาดูแลฟันและช่องปาก นอกจากนี้ ควรนำเด็กปฐมวัยไปรับการตรวจคัดกรองสภาวะโรคฟันผุโดยทันตบุคลากร หากประเมินแล้วพบว่าเริ่มมีความเสี่ยงฟันผุ จะได้รับคำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปาก เคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูง และนัดตรวจติดตามเป็นระยะ ๆ ทุก 3 เดือน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแลได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ๐-๓ ปี รู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี 3. เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองมีระดับความรู้ในการดูแลทันตสุขภาพเด็ก0-3 ปี ที่ถูกต้อง ในระดับดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันเด็ก 0-3 ปี ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 3. เด็กอายุ 0-3 ปี ได้รับการทาฟูลออไรค์วานิช ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการ
    รายละเอียด

    1.ค่าวิทยากร อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,200 บาท 2.ค่าวิทยากร ในการทำกิจกรรมกลุ่ม ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 2 คน    เป็นเงิน 2,400 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 30 บาท x 1 มื้อ x 185 คน    เป็นเงิน 5,550 บาท 4.อุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปากสำหรับฝึกปฎิบัติ  ( ยาสีฟัน แปรงสีฟัน แก้วน้ำ) ชุดละ 50 บาท x 90 คน    เป็นเงิน 4,500 บาท 5.ค่าไวนิลขนาด 1x3 เมตร  ตร.เมตรละ 300 บาท  เป็นเงิน 900 บาท

    งบประมาณ 14,550.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 14,550.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ปกครองเด็กเล็ก 0-3 ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลช่องปากและฟัน
  2. ผู้ปกครองเด็กเล็ก 0-3 ปี สามารถแปรงฟันให้ลูกได้อย่างถูกวิธี
  3. ผู้ปกครองเด็กเล็ก 0-3 ปี สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดขยายผลต่อเพื่อนและผู้ใกล้ชิดได้อย่างถูกต้อง 4.เด็ก 0-3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
    5.เด็ก 0-3 ปี ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาลได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ รหัส กปท. L4153

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ รหัส กปท. L4153

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 14,550.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................