กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตาดีกายุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ

ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด หมู่ที่ ๔ สุเหร่ากากีบูเกะ (เชิงเขา)

ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด หมู่ที่ ๔

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การส่งเสริมสุขภาพนักเรียนตาดีกาเป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นในโรงเรียนตาดีกาโดยเฉพาะในเรื่องสุขภาพกาย สุขภาพฟัน และการรณรงค์ปลอดบุหรี่ในพื้นที่ตาดีกาซึ่งจะช่วยให้สภาพแวดล้อมในการเรียนดีขึ้นแล้ว ยังช่วยให้ลดการเกิดโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อต่างๆ และการที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตนั้นจะส่งผลให้การเรียนรู้และการพัฒนาการที่ดีหากในวัยเด็กได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องในอนาคตที่เติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพเป็นต้นแบบที่ดีแก่สมาชิกในครอบครัวและชุมชนสามารถที่จะลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพและเป็นทรัพยากรที่ใช้ในการพัฒนาประเทศได้อย่างดี
ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด หมู่ที่ ๔ สุเหร่ากากีบูเกะ (เชิงเขา) มีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 150 คน หากมีการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนและให้นักเรียนปฏิบัติจริงในเรื่องการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพฟันจะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนตาดีกายุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยเบื้องต้นของนักเรียนและเป็นการสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขในโรงเรียนและชุมชนต่อไปในอนาคต

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ลดการเจ็บป่วย

 

0.00
2 ๒.เพื่อลดปัญหาในช่องปาก (ฟังผุ) ของเด็ก หลีกเลี่ยงจากบุหรี่และยาเสพติด

 

0.00
3 ๓.เพื่อรณรงค์ให้ตาดีกาเป็นพื้นที่ปลอดภัย

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการตาดีกายุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
โครงการตาดีกายุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 2 เมตร เป็นเงิน 600 บาท กิจกรรมตาดีการักษ์ฟัน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าชุดแปรงฟันสำหรับเด็ก จำนวน 150 ชุดๆละ 45 บาท เป็นเงิน 6,750 บาท
  • ค่ากระบอน้ำสำหรับเด็ก จำนวน 150 อันๆละ 25 บาท เป็นเงิน 4,350 บาท กิจกรรมตาดีกาปลอดบุหรี่
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่ม จำนวน 150 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 6,250 บาท
  • ค่าวัสดุในการอบรม (สมุด ปากกา) จำนวน 150 ชุดๆละ 15 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ผู้สอนและนักเรียนมีสุขภาพกายใจที่แข็งแรง
๒.นักเรียนได้รับการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก
๓.ผู้สอนและนักเรียนปรับแนวคิดทัศนะคติเกี่ยวกับบุหรี่ไปในระดับหนึ่ง


>