กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแว้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแว้ง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแว้ง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแว้ง อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาส

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแว้ง อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล
เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัวและประเทศชาติ สิ่งสำคัญ ในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ
คือ การเลี้ยงดูแลและส่งเสริมพัฒนาในด้านต่าง ๆทั้งร่างกายจิตใจ และสมองอย่างเหมาะสม การดูแลจัดการอาหารและโภชนาการในช่วงวัยเด็กเล็กรวมถึงสภาวการณ์เจริญเติบโตเป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญา ที่ดีในระยะยาวและยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนจึงมีความจำเป็นมากในปัจจุบันเพื่อเป็นการส่งเสริมการเจริญเติบโตและส่งเสริมพัฒนาการในด้านต่าง ๆของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแว้งจึงได้จัดโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแว้งเพื่อดูแลด้านโภชนาการและการเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดีและมีคุณภาพในการดำรงชีวิตประจำวันต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ 2. เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมด้านโภชนาการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้กับผู้ปกครอง

เด็กได้อาหารที่เหมาะตามโภชนาการสมวัย

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรทางการศึกษา 7

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/08/2022

กำหนดเสร็จ 15/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมด้านโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมด้านโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จำนวน  6,845.-  บาท  รายละเอียด  ดังนี้     - ค่าป้ายโครงการขนาด 1.2x2.4  เมตร จำนวน 1 ป้าย            เป็นเงิน    720 บาท     - ค่าวิทยากรจำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท          เป็นเงิน    1,800   บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 109 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 25บาท  เป็นเงิน    2,725  บาท     - ขนมปัง จำนวน5 แถวๆละ 45 บาท                             เป็นเงิน    225 บาท     - ไข่จำนวน 50 ฟองๆละ 4 บาท                          เป็นเงิน  200 บาท     - ผักกาดขาว  ต้นหอมผักชี   มะเขือเทศ มันฝรั่ง(5 ชุด)               เป็นเงิน 750 บาท     - อกไก่ 5 ชิ้นๆละ 85 บาท                                     เป็นเงิน 425 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 สิงหาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6845.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,845.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัยลดภาวะทุพโภชนาการ
2. เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามวัยมากขึ้น
3. ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมด้านโภชนาการพัฒนาเด็กปฐมวัย


>