กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการประจำปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง ม.2 ต.เจ๊ะบิลัง อ.เมือง จ.สตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมการใช้เงินจากองทุนให้กับประชาชน เพื่อนำไปทำโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

กลุ่ม องค์กร ประชาชน มีการจัดทำโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน ร้อยละ 80

1.00
2 2. เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่

เพิ่มประสิทธิ และประสิทธิผลการดำเนินงานของกองทุนฯ ได้ร้อยละ 80

1.00
3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ

เจ้าหน้าที่และบุคลากรของกองทุน สามารถดำเนินงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้ร้อยละ 80

1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 18

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ,คณะทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2565 อย่างน้อย 6 ครั้ง/ปี

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ,คณะทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2565 อย่างน้อย 6 ครั้ง/ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน                  1.1 ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดร่างวาระในการประชุมจำนวนคณะกรรมการ
                            คณะอนุกรรมการ
          1.2 กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ              2. ขั้นตอนการดำเนินงาน                  2.1 ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการเพื่อกำหนดนัดหมาย                  2.2 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินการ                  2.3 จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน               3. จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม                   3.1 ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด                   3.2 จัดประชุมคณะกรรมการ,อนุกรรมการ,ที่ปรึกษาอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี                   3.3 สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานหรืองบดุล เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ เพื่อนำเสนอสำนักงานหลักประกันสุขภาพในเดือนธันวาคม     ของทุกปี
  2. มีการรับผิดชอบการเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในระบบหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  3. แผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ทำให้การบริหารงานงานกองทุนฯ มีประสิทธิภาพได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ประจำปีงบประมาณ 2564 อย่างน้อย 6 ครั้ง/ปี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ประจำปีงบประมาณ 2564 อย่างน้อย 6 ครั้ง/ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดร่างวาระในการประชุมจำนวนคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ LTC 2.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานหรืองบดุล เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ เพื่อนำเสนอสำนักงานหลักประกันสุขภาพในเดือนธันวาคม     ของทุกปี
  2. มีการรับผิดชอบการเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในระบบหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  3. แผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ทำให้การบริหารงานงานกองทุนฯ มีประสิทธิภาพได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15040.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ,คณะอนุกรรมการกองทุนฯ,คณะทำงานกองทุนฯ, คณะอณุคณะกรรมการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง LTC

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ,คณะอนุกรรมการกองทุนฯ,คณะทำงานกองทุนฯ, คณะอณุคณะกรรมการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง LTC
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ประชุม สัมมนา อบรม กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือพื้นที่

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการได้รับความรู้ และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,040.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพโปร่งใสและจัดทำสรุปผลการดำเนินงานหรืองบดุล เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ เพื่อนำเสนอสำนักงานหลักประกันสุขภาพในเดือนธันวาคม ของทุกปี
2. มีการรับผิดชอบการเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในระบบหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามรูปแบบที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
3. แผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ทำให้การบริหารงานงานกองทุนฯ มีประสิทธิภาพได้


>