กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. เพื่อยกระดับอสม. เป็นอสม. หมอประจำบ้าน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลตะโละแมะนา

1. นางสาวเจ๊ะเสาะ สาแม เลขบัตรประจำตัวประชาชน 3940600060591
2. นางเสวียน เพ็ชรสากร เลขบัตรประจำตัวประชาชน 3940900144641
3. นางสาวแวแอเสาะ หวัง เลขบัตรประจำตัวประชาชน 3940600075717
4. นางรอซีด๊ะ เจะนิมะ เลขบัตรประจำตัวประชาชน 3940600065797
5. นางอุร๊ะ เจะมิง เลขบัตรประจำตัวประชาชน 3940500292333

ตำบลตะโละแมะนา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

1.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

1.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

1.00
4 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (เนื้อสัตว์ ข้าว พืชผัก ผลไม้ ไขมัน) ครบ 3 มื้อ

 

1.00
5 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

1.00
6 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

 

1.00
7 ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์

 

1.00
8 จำนวน(คน)ผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

 

1.00

อสม. ในพื้นที่ตำบลตะโละแมะนา ร้อยละ ๘๐ อสม. ยังขาดองค์ความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพ และขาดความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงานด้านสุขภาพในชุมชน ดังนั้นเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ อสม. ให้แสดงบทบาทอย่างเข้มแข็งเพื่อเพิ่มศักยภาพ เพิ่มขีดความสามารถของ อสม.ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น จำเป็นจะต้องพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้ และสามารถดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

2.1 เพื่อส่งเสริมความรู้ผู้ดูแลสุขภาพระดับหมู่บ้านอสม.พัฒนาสู่การเป็น “อสม.หมอประจำบ้าน”
2.2 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ อสม.ให้มีการทำงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
2.3 เพื่อพัฒนา อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น “อสม.หมอประจำบ้าน”อย่างมีคุณภาพในระดับตำบล 

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/08/2022

กำหนดเสร็จ 15/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 45 คนๆละ 60 บาท x 2 วัน            เป็นเงิน 5,400 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 45 คนๆละ 25 บาทx2 มื้อ x 2 วัน  เป็นเงิน 4,500 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาทx2 วัน        เป็นเงิน 7,200 บาท
  • ค่าเอกสาร จำนวน 45 ชุดๆละ 50 บาท                  เป็นเงิน 2,250 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์                                      เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1x3 เมตร จำนวน 1 ผืน              เป็นเงิน 900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 สิงหาคม 2565 ถึง 18 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 100 อสม.ที่ผ่านการอบรม มีความรู้ในบทบาทของ อสม. หมอประจำบ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21250.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมถอดบทเรียนและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมถอดบทเรียนและประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 45 คนๆละ 60 บาท                เป็นเงิน 2,700 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 45 คนๆละ 25 บาทx2 มื้อ  เป็นเงิน 2,250 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กันยายน 2565 ถึง 8 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 100 ของ อสม.ที่ผ่านการอบรม สามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ร้อยละ 100 ของ อสม.ที่ผ่านการอบรม สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์  และแอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพด้านสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ยกระดับ อสม.เป็น อสม.หมอประจำบ้าน
2. อสม.หมอประจำบ้านมีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
3. สามารถนำเทคโนโลยีสื่อสารทางการแพทย์ในชุมชนผ่านระบบออนไลน์ และเป็นแกนนำด้านการดูแลสุขภาพในชุมชน
4. ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี พึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ


>