กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นาประดู่ ประจำปี พ.ศ.2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาประดู่

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาประดู่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเองแล้ว ทั้งนี้ยังสนับสนุนให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน และการสร้างกลไกในสังคมที่ต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วงในพื้นที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาประดู่ จึงได้ดำเนินการจัดทำ “โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.นาประดู่ ประจำปี พ.ศ.2565” เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการพัฒนากองทุนให้ดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อนำเสนอโครงการให้คณะกรรมการบริหารกองทุนอนุมัติ เพื่อแจ้งข่าวสารต่างๆเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพให้คณะกรรมการรับทราบ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 25

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 20/06/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 - จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และ LTC - ค่ารับรองพี่เลี้ยงกองทุนฯ - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ - ค่าซ่อมแซมและบำรุง

ชื่อกิจกรรม
- จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และ LTC - ค่ารับรองพี่เลี้ยงกองทุนฯ - จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ - ค่าซ่อมแซมและบำรุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  4 ครั้ง/ปี และ LTC 2 ครั้ง /ปี

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

(1) คณะกรรมการกองทุนฯ และคณะทำงานของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯในพื้นที่ได้รับความรู้ นำมาบริหารงานและนำมาพัฒนาดำเนินกิจกรรมของกองทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (2) ผู้สูงอายุในพื้นที่มีสุขภาพอนามัยที่ดี สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้
(3) นำข้อมูลที่ได้จากการเดินทางไปศึกษาดูงานมาปรับปรุงแก้ไข พัฒนา ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนของเทศบาลตำบลประดู่ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
73150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 73,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>