กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกชะงาย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกชะงาย

1.นายเสถียร ธรรมเพชร
2.นางลัญฉนา คงสุวรรณ
3.นางสาวสุธิธรรม ทองแก้ว
4.นายเอนก กลิ่นรส
5.นางปานิมาส รุยัน

ตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองพัทลุงจังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

85.00
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

 

23.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

20.00
4 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

1.00
5 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

10.00
6 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ

 

100.00

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกชะงายได้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2551เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลโคกชะงาย ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชน จากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้องมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลโคกชะงาย จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบล โคกชะงาย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

85.00 90.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

20.00 20.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

10.00 10.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

23.00 25.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

100.00 100.00
6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

1.00 4.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 31/10/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนประชุมกรรมการจำนวน 20 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมกรรมการกองทุน ฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8500.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนประชุมกรรมการจำนวน 20 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมกรรมการกองทุน ฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8500.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนประชุมกรรมการจำนวน 20 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
  • อาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมกรรมการกองทุน ฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10600.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนประชุมกรรมการจำนวน 20 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
  • อาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมกรรมการกองทุน ฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10600.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนประชุมกรรมการจำนวน 10 คน ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าตอบแทนผู้มีคำสังเข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน ๆ ละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 2,000 บาท
  • อาหารกลางวัน จำนวน 40 คน ๆ ละ 80 บาทจำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 3,200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมอนุกรรมการกองทุน ฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14200.00

กิจกรรมที่ 6 ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนประชุมกรรมการจำนวน 10 คน ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าตอบแทนผู้มีคำสังเข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน ๆ ละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 2,000 บาท
  • อาหารกลางวัน จำนวน 40 คน ๆ ละ 80 บาทจำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 3,200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชุมอนุกรรมการกองทุน ฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14200.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมพิจารณาร่างแผนงาน/โครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมพิจารณาร่างแผนงาน/โครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน ๆ ละ 25 บาท  จำนวน 2 มื้อ  เป็นเงิน 1,750 บาท
  • อาหารกลางวัน จำนวน 35 คน ๆ ละ 80 บาท  จำนวน 1 มื้อ  เป็นเงิน 2,800 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร  จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง  ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ประชุมพิจารณาร่างแผนงาน/โครงการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8150.00

กิจกรรมที่ 8 ค่าวัสดุและครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์รวมทั้งค่าซ่อมแซม

ชื่อกิจกรรม
ค่าวัสดุและครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์รวมทั้งค่าซ่อมแซม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวัสดุและครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์รวมทั้งค่าซ่อมแซม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ค่าวัสดุและครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์รวมทั้งค่าซ่อมแซม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
52320.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 127,070.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุนร้อยละ 100
- สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุนร้อยละ 100
- ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล ร้อยละ 100
- สามารถถอดบทเรียนการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2566


>