กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและหัวใจตำบลปะโด ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปโรคติดเชื้อซึ่งเคยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในอดีตได้ลดระดับความสำคัญลงในขณะที่โรคไม่ติดต่อกลับเป็นปัญหาที่สำคัญเพิ่มขึ้น จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งโรคเบาหวานพบได้ในประชากรไทยตั้งแต่ร้อยละ ๓ ถึง ๑๐ แล้วแต่พื้นที่และภาวะโภชนาการ โรคนี้พบได้ทั้งสองเพศ มักพบในวัยกลางคนแต่สามารถพบได้ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้เข้าสู่วัยทอง สำหรับในอดีตที่ประเทศไทยยังเป็นประเทศด้อยพัฒนา โรคเบาหวานจะพบได้ ประมาณร้อยละ ๑-๔ เท่านั้น และในปัจจุบันเป็นปัญหาสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วนและเป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งมักจะเกิดในคนอายุมากกว่า ๓๕ ปีขึ้นไปมารับการตรวจรักษาเมื่อมีอาการรุนแรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งนี้เนื่องจากการขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพร่างกาย พฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม การเกิดภาวะเครียดในชีวิตประจำวัน ขาดการออกกำลังกายซึ่งส่งผลก่อให้เกิดโรคดังกล่าวข้างต้น ดังนั้น การลดปัญหากลุ่มโรคเบาหวานต้องดูแลป้องกันร่วมกันอย่างมีระบบและคุณภาพอย่างต่อเนื่องโดยการสำรวจกลุ่มเป้าหมายคัดกรอง วินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งจะมีผลต่อการรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการฟื้นฟูสภาพ จึงจะสามารถลดปัญหากลุ่มโรคดังกล่าวลงได้
สำหรับในปี ๒๕64โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโดมีประชากรที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
กลุ่มประชากรอายุ ๓๕ปีขึ้นไป จำนวน ๑,331 คนที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงจำนวน1,228คนคิดเป็นร้อยละ 92.26พบว่า มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 26 คนคิดเป็นร้อยละ 2.12 มีภาวะสงสัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 75 คนคิดเป็นร้อยละ 6.11 พบผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 231 คน คิดเป็นร้อยละ 18.81 และ กลุ่มประชากรอายุ ๓๕ปีขึ้นไป จำนวน ๑,506 คน ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน จำนวน1,373คนคิดเป็นร้อยละ 91.16 มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 มีภาวะสงสัยเป็นโรคเบาหวานจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 พบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน72 คน คิดเป็นร้อยละ 6.07
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโดได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว
ของโรค จึงได้จัดทำ “โครงการการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจตำบลปะโด ปี 2565”เพื่อกลุ่มเสี่ยงกลับมาเป็นเป็นกลุ่มปกติหรือไม่ให้เป็นโรคเรื้อรังและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ยั่งยืนต่อไป

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปโรคติดเชื้อซึ่งเคยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในอดีตได้ลดระดับความสำคัญลงในขณะที่โรคไม่ติดต่อกลับเป็นปัญหาที่สำคัญเพิ่มขึ้น จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งโรคเบาหวานพบได้ในประชากรไทยตั้งแต่ร้อยละ ๓ ถึง ๑๐ แล้วแต่พื้นที่และภาวะโภชนาการ โรคนี้พบได้ทั้งสองเพศ มักพบในวัยกลางคนแต่สามารถพบได้ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้เข้าสู่วัยทอง สำหรับในอดีตที่ประเทศไทยยังเป็นประเทศด้อยพัฒนา โรคเบาหวานจะพบได้ ประมาณร้อยละ ๑-๔ เท่านั้น และในปัจจุบันเป็นปัญหาสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วนและเป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งมักจะเกิดในคนอายุมากกว่า ๓๕ ปีขึ้นไปมารับการตรวจรักษาเมื่อมีอาการรุนแรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งนี้เนื่องจากการขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพร่างกาย พฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม การเกิดภาวะเครียดในชีวิตประจำวัน ขาดการออกกำลังกายซึ่งส่งผลก่อให้เกิดโรคดังกล่าวข้างต้น ดังนั้น การลดปัญหากลุ่มโรคเบาหวานต้องดูแลป้องกันร่วมกันอย่างมีระบบและคุณภาพอย่างต่อเนื่องโดยการสำรวจกลุ่มเป้าหมายคัดกรอง วินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งจะมีผลต่อการรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการฟื้นฟูสภาพ จึงจะสามารถลดปัญหากลุ่มโรคดังกล่าวลงได้
สำหรับในปี ๒๕64โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโดมีประชากรที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
กลุ่มประชากรอายุ ๓๕ปีขึ้นไป จำนวน ๑,331 คนที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงจำนวน1,228คนคิดเป็นร้อยละ 92.26พบว่า มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 26 คนคิดเป็นร้อยละ 2.12 มีภาวะสงสัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 75 คนคิดเป็นร้อยละ 6.11 พบผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 231 คน คิดเป็นร้อยละ 18.81 และ กลุ่มประชากรอายุ ๓๕ปีขึ้นไป จำนวน ๑,506 คน ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน จำนวน1,373คนคิดเป็นร้อยละ 91.16 มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 มีภาวะสงสัยเป็นโรคเบาหวานจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 พบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน72 คน คิดเป็นร้อยละ 6.07
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะโดได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว
ของโรค จึงได้จัดทำ “โครงการการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจตำบลปะโด ปี 2565”เพื่อกลุ่มเสี่ยงกลับมาเป็นเป็นกลุ่มปกติหรือไม่ให้เป็นโรคเรื้อรังและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ยั่งยืนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจ
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจ
3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจ
4.ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจได้รับการส่งต่อและดูแลอย่างต่อเนื่อง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 210
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/08/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ ๑ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ค้นหา และคัดดกรองประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป กิจกรรมที่ ๒ อบรมผู้ที่ปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง - ค้นหา และคัดดกรองประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป กิจกรรมที่ ๒ อบรมผู้ที่ปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 210 คน 50 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 10,500  บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 210 คน 25 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 10,500 บาท 3.ค่าวัสดุสำนักงาน
     3.1 ปากกาลูกลื่น จำนวน 210 ด้าม ด้ามละ 10 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท     3.2 สมุดปกอ่อนขนาด 60 แกรม จำนวน 210 เล่ม เล่มละ 10 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท     3.3 ปากกาเคมี ตราม้า จำนวน 20 ด้าม ด้ามละ 15 บาท เป็นเงิน 300 บาท      3.4 กระดาษดับเบิล A4  จำนวน 2 รีม รีมละ 130 บาท เป็นเงิน 260 บาท      3.5 กระดาษสร้างแบบ    จำนวน 20 แผ่น  แผ่นละ 5 บาท เป็นเงิน 100 บาท 4.ค่าวิทยากรชั่งโมงละ 300 บาท จำนวน 18 ชั่วโมง จำนวน 2 คน เป็นเงิน 5,400   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 210 คน 50 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 10,500  บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 210 คน 25 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 10,500 บาท 3.ค่าวัสดุสำนักงาน
     3.1 ปากกาลูกลื่น จำนวน 210 ด้าม ด้ามละ 10 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท     3.2 สมุดปกอ่อนขนาด 60 แกรม จำนวน 210 เล่ม เล่มละ 10 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท     3.3 ปากกาเคมี ตราม้า จำนวน 20 ด้าม ด้ามละ 15 บาท เป็นเงิน 300 บาท      3.4 กระดาษดับเบิล A4  จำนวน 2 รีม รีมละ 130 บาท เป็นเงิน 260 บาท      3.5 กระดาษสร้างแบบ    จำนวน 20 แผ่น  แผ่นละ 5 บาท เป็นเงิน 100 บาท 4.ค่าวิทยากรชั่งโมงละ 300 บาท จำนวน 18 ชั่วโมง จำนวน 2 คน เป็นเงิน 5,400   บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31260.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,260.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน
2.วัยผู้ใหญ่มีความรู้ ทัศนคติ และการตรวจสุขภาพ
3.ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่ลุกลามหรือมีภาวะแทรกซ้อน
4.เกิดความร่วมมือที่ดีระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน และองค์ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นต้น


>