กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนควนโดนรักษ์สุขภาพ ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน

ตำบลควนโดน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สถานการณ์ปัจจุบัน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก และอันดับหนึ่ง ในประเทศไทย ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวมในประเทศไทย ภาระโรค เกิดจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อหลักสำคัญ

 

80.00
2 ปัญหาหลักของการรักษาโรคไม่ติดต่อในประเทศไทย คือการที่ผู้ป่วยไม่ได้ตระหนัก ว่าเป็นโรค และการที่ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมโรคให้ลดลงมาตามเกณฑ์ปฏิบัติได้ อย่างไรก็ตาม พบว่าแนวโน้มของการไม่ตระหนักถึงการเป็นโรคของผู้ป่วยลดลง จากร้อยละ 72.4 เหลื

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 90

90.00 90.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น

ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ร้อยละ

90.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 101
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/08/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่1.กิจกรรมพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวนทั้งหมด 101 คน จัดแบ่งเป็น 2 รุ่นที่ 1 จำนวน 51 คน และ รุ่นที่ 2 จำนวน 50 คน

  • กิจกรรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ พัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล และตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ ** กิจกรรม จะมีวิทยากร มาให้ความรู้ และให้ผู้ป่วยทดลองปฏิบัติ หรือเลือกปฏิบัติ ในการดูแลสุขภาพ ทั้งด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย งดสูบบุหรี่ และไม่ดื่มแอลกอฮอล์ พร้อมทั้ง ให้ความรู้เรื่องภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อในแต่ละด้าน ทั้งตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
    ** กิจกรรม จะมีวิทยากร มาร่วมในการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ

    งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อ
    ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 51 คน /รุ่นที่1 และจำนวน 50 คน/รุ่นที่ 2 คนละ 100 บาท เป็นเงิน 10,100 บาท
    ค่าวิทยากร 2 คน คนละ 2 ชั่วโมงๆละ 300 บาท จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
    **กิจกรรมที่ 1 รวมเป็นเงิน 12,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อและหรือผู้ดูแล มีการพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงและมีผลการตรวจผิดปกติ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน รุ่นที่ 1 กลุ่มควบคุมเบาหวาน ความดันไม่ได้ และเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 51 คน รุ่นที่ 2 กลุ่มเสี่ยงโรคไตและไขมันในเลือดสูง 50 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงและมีผลการตรวจผิดปกติ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน รุ่นที่ 1 กลุ่มควบคุมเบาหวาน ความดันไม่ได้ และเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 51 คน รุ่นที่ 2 กลุ่มเสี่ยงโรคไตและไขมันในเลือดสูง 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่2 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงและมีผลการตรวจผิดปกติ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน รุ่นที่ 1 กลุ่มควบคุมเบาหวาน ความดันไม่ได้ และเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 51 คน
รุ่นที่ 2 กลุ่มเสี่ยงโรคไตและไขมันในเลือดสูง 50 คน
** กิจกรรม จะมีวิทยากร มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อที่มีความเสี่ยง โดยจัดแบ่งกลุ่มความเสี่ยง เป็น 2 รุ่น รุ่นที่ 1 กลุ่มควบคุมเบาหวาน ความดันไม่ได้ และเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 51 คน รุ่นที่ 2 กลุ่มเสี่ยงโรคไตและไขมันในเลือดสูง 50 คน และมีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ให้ทดลองปฏิบัติ ทำกิจกรรมกลุ่ม โดยมีพี่เลี้ยง คอยให้คำปรึกษา ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านต่างๆ

งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ รุ่นที่ 1 จำนวน 51 คน และรุ่นที่ 2 จำนวน 50 คน รวม 2 รุ่น จำนวน 101 คน คิดเป็นคนละ 100 บาท เป็นเงิน 10,100 บาท
ค่าวิทยากร 2 คน จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 300 บาท จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
**กิจกรรมที่ 2 รวมเป็นเงิน 12,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ มีผลการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในด้านต่างๆดีขึ้น ในปีต่อไป ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อและหรือผู้ดูแล มีการพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 90
2. ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและมีผลการตรวจผิดปกติ เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนแต่ละด้าน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ร้อยละ 90 และมีผลการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในด้านต่างๆดีขึ้น ในปีต่อไป


>