กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อดูแลสุขภาพประชาชนตำบลนาทับ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลนาทับ

1.นางสาวสุดาดวง พันคง 3900300510957 โทร.089-7359740

2.นางอามีเหน๊าะ สะอาดวารี 3900300531253 โทร 083-6539718

3.นางอรสา จันรภาส 3909900585131 โทร 085-0607638

4.นางไหมฉะหร๊ะ บ่าเหม 3900300510663 โทร 083-1954503

5.นางยุพา เส็มแล๊ะ 3900300527116 โทร 089-7341362

ตำบลนาทับ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

43.89
2 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

36.70
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

68.40
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

64.80
5 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

41.60
6 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

29.56

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

64.80 80.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

41.60 65.00
3 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

43.89 65.00
4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

36.70 50.00
5 เพื่อลดพฤติกรรมการดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ ลดลง

68.40 50.00
6 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

29.56 18.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 125
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ อสม. ศพด.โรงเรียน กลุ่มองค 45

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/08/2022

กำหนดเสร็จ 28/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ การวิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่และประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ การวิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่และประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารวางและเครื่องดื่ม จำนวน 47 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,175 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 สิงหาคม 2565 ถึง 25 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ฐานข้อมูลด้านสุขภาพ
  • แผนการดำเนินงาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1175.00

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายสุขภาพฯในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายสุขภาพฯในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การพัฒนาศักยภาพแกนนำเครือข่ายสุขภาพ ฯ จำนวน 46 คนและวิทยากร 1 คน รวม 47 คน โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่

  • อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนแผนสุขภาพเพื่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน

  • อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพโดยใช้งบกองทุนตำบล

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าตอบแทนวิทยากรวันละ 12 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาทเป็นเงิน 7,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 47 คน ๆละ 4 มื้อ ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 18,800 บาท
  • ค่าอาหาร จำนวน 47 คน ๆละ 4 มื้อ ๆละ 150 บาท เป็นเงิน 28,200 บาท
  • ค่าที่พัก จำนวน 47 คน ๆละ 1,000 บาท จำนวน 1 คืนเป็นเงิน 47,000 บาท
  • ค่าจ้างเหมารถยนต์ปรับอากาศ จำนวน 1 คัน ๆละ 13,500 บาท เป็นเงิน 13,500 บาท
  • ค่าวัสดุในการอบรม 4,000 บาท
  • ค่าห้องประชุม 4,000 บาท
  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 2 x 2.5 เมตร รวม 5 ต.ร.ม.ๆละ 120 บาทเป็นเงิน 600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กันยายน 2565 ถึง 13 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนสุขภาพและจัดทำแผนได้ถูกต้อง
  • ผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจในนการเขียนโครงการและเขียนโครงการได้ถูกต้อง
  • มีโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ประชาชนโดยใช้งบประมาณจากกองทุนตำบล
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
123300.00

กิจกรรมที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนแลสรุปผลการดำเนินงานโครงการการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค

ชื่อกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนแลสรุปผลการดำเนินงานโครงการการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 47 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,175 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กันยายน 2565 ถึง 20 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • สรุปผลการดำเนินงาน
  • มีโครงการขอใช้งบกองทุน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1175.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 125,650.00 บาท

หมายเหตุ :
*** ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เหมาะสม


>