กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชน หมู่ 2 ตำบลอาซ่อง ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง

เยาาวชน หมู่ 2 บ้านแย๊ะ ตำบลอาซ่อง

1. นางสาวมารีนี ยาเล
2. นางสาวแมะด๊ะ ยาซิง
3. นางสาวรอฮายู ดาโอะ
4. นางสาวตอยีบ๊ะ สะน๊ะ
5. นางสาวคอลีเย๊าะ แวมะชัย

พื้นที่ หมู่ 2 บ้านแย๊ะ ตำบลอาซ่อง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้มีการคัดแยกและกระบวนการจัดการขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนเป้าหมาย

 

0.00
2 2. สร้างวินัย และสร้างจิตสำนึกให้ชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการจัดการ ขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

 

0.00
3 3. เพื่อให้ประชาชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น

 

0.00
4 4. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ชุมชนสะอาดเรียบร้อย ชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/08/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
โครงการรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • กิจกรรมอบรมให้ความรู้ปลูกจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน
  1. ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย (ขนาด1×3เมตร)เป็นเงิน 1,000 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม จำนวน 100 คนๆละ 2 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
  3. ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 70 บาทเป็นเงิน 7,000 บาท
  4. ค่าวิทยากรในการบรรยาย 6 ชม.ๆละ 600 บาท*1วัน เป็นเงิน3,600 บาท
  5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 35 บาท * 100 คนเป็นเงิน3,500 บาท (สมุดเล่มละ 10 บาท แฟ้มอันละ 20 บาท ปากกาเล่มละ 5 บาท) รวมเป็นเงิน 22,100 บาท

- กิจกรรมรณรงค์เดิน วิ่ง เก็บขยะ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะและโฟม 1. ค่าป้ายรณรงค์ จำนวน 1 ป้าย (ขนาด1×3เมตร) เป็นเงิน 1,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารณรงค์ จำนวน 100 คนๆละ 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท 3. ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 70 บาทเป็นเงิน 7,000 บาท 3. ค่ากระเป๋าลดภาวะโลกร้อน 60 บาท * 100 คนเป็นเงิน 6,000 บาท
4. แผ่นพับรณรงค์ประชาสัมพันธ์ จำนวน 200 แผ่นๆละ 15 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 20,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น42,600 บาท( เงินสี่หมื่นสองพันหกร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมมีความตระหนัก และ เข้าใจ การบริหารจัดการขยะในครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
42600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 42,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้เข้าอบรมมีความตระหนัก และ เข้าใจ การบริหารจัดการขยะในครัวเรือน และมีการนำขยะมาจัดการเอง ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพสามารถลดปริมาณขยะได้ในระดับหนึ่ง ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนมีนิสัยไม่ทิ้งขยะ ให้รู้จักคุณค่าของวัสดุเหลือใช้ (ขยะ) และ รู้จักแยกขยะแต่ละประเภทได้ถูกต้อง ในชีวิตประจำวัน โดยการปฏิบัติ


>