กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงอายุตำบลตรังสู้ภัยสมองเสื่อม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง

สาธารณสุขมูลฐานบ้านเขาวัง

1.นางซากีเร๊าะกูโน

2.นางยานิลามูนะ

3.นางสาวมาซารีย๊ะซีวา

4.นางสาวมาซีเต๊าะดีแม็ง

5.นางยาวาเฮหะยอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจุบันภาวะสมองเสื่อมของหน้าที่สมองในการเรียนรู้และเชาว์ปัญหารทำให้เกิดปัญหาต่างๆๆตามมาเช่นกันผู้สูงอายุหลงลืมไม่สามารถทำสิ่งที่เคยทำได้มีปัญหาในการใช้ภาษา เช่นพูดไม่รู้เรื่องหรือการพูดให้คนอื่นฟังเข้าใจได้ยาก การวางของผิดที่ผิดทางทำให้อารมณ์แปลี่ยนแปลงได้ง่ายและบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไปเช่นซึมเศร้าหรืออาจจะบีบุคลิกที่กลับไปเป็นเด็กอีกครั้งในรายที่รุนแรงมากๆๆ อาจไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้แม้กระทั่งอาบนำ้การเข้าห้องน้ำจึงต้องมีผู้ดูแลตลอดเวลาทำให้ผู้ดูแลเกิดความเครียดเพราะผู้สูงอายุไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันเองได้จำเป็นต้องดูแลอย่างใกล้ชิดผู้ดูแลเสียเวลาและอาจเกิดการขายรายได้ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคสมองเสื่องขึ้นคือโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเพราะหลอดเลือดแดงแข็งตัวทำให้ไม่สามารถไปเลี้ยงสมองอย่างเพียงพอทำให้สมองฝ่อตัวลงความสามารถจึงถดถอยกระบอนการคิดความจำเป็นสมาธิสติปัญญาลดลงรวมทั้งการดื่มสรุาและสูบบหรี่จะทำให้โครงสร้างสมองฝ่ออย่างชัดเจน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภาวะสมองเสื่อม

ร้อยละ  80  ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภาวะสมองเสื่อม

0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถทำกิจกรรมกระตุ้นกระบวนการคิดและความจำ

ร้อยละ  80 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำกิจกรรมกระตุ้นกระบวนการคิดและความจำ

0.00
3 เพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการติดตาม ป้องกัน ภาวะสมองเสื่อม

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 264
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/06/2022

กำหนดเสร็จ 15/06/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กระบวนการชราที่มีผลต่อการหกล้มและภาวะสมองเสื่อมและการป้องกัน

ชื่อกิจกรรม
กระบวนการชราที่มีผลต่อการหกล้มและภาวะสมองเสื่อมและการป้องกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารจำนวน50บาทX264 คน X1มื้อเป็นเงิน13,200.-บาท

2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน25บาทX264 คน X2มื้อเป็นเงิน13,200.-บาท

3.ค่าป้ายไวนิลขนาด1X 1.5 เมตร1ผืนเป็นเงิน600.-บาท

4.ค่าตอบแทนวิทยากร10 ชม.X600.-บาท เป็นเงิน6,000.-บาท

5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ (แนบท้าย)เป็นเงิน5,000.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มิถุนายน 2565 ถึง 16 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 40,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>