กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า

1.นายรัฐการ ลัดเลีย

2.นายตรา เหมโคกน้อย

3.นายปรีชา ปันดีกา

4.นายเอกนรินทร์ ลัดเลีย

5.นางสาวนดา แย้มสุข

ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล (เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

44.29
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ (โครงการ)

 

8.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบและการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

0.00
4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

5.00

หลักการและเหตุผล
เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น มาตรา 47 แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(คณะกรรมการหลัก) สนับสนุน ประสานและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) อาชีพที่เสี่ยง และกลุ่มผู่ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ ให้สามารถเข้าถึงและมีประสิทธิภาพขึ้น โดยส่งเสรมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสม แลยะความต้องการของประชาชนในพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 10 (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตามข้อ7 วรรณหนึ่งในแต่ละปีงบประมาณ นั้น และองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ได้สมัครเข้าร่วมดำเนินการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่่งพึง (LTC) สามารถเพิ่มเติมได้อีกร้อยละ 5 ตามข้อ 7 วรรคสอง องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ประมาณการรายรับไม่รวมเงินอุดหนุน ปีงบประมาณ 2566 เป็นเงิน 26,500,000 บาท ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ8 (3) องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ตกลงสมทบเงินเข้ากองทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50ของรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนสูงกว่า 20 ล้านบาท

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯให้แก่โครงการผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารการสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ90

44.29 95.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานสำเร็จ

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

8.00 12.00
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯโครงการด้านสุขภาพ (คน)

21.00 21.00
4 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

กองทุนฯมีการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงร้อยละ 100

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดทำแผนสุขภาพชุมชน จำนวน 7 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแผนสุขภาพชุมชน จำนวน 7 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-จัดทำแผนสุขภาพชุมชนประจำปี 2567 (สิงหาคม 2566) เพื่อให้ได้ข้อมูลสภานการณ์ปัญหานพื้นที่ตำบลปากนำ้ จำนวน 7 หมู่บ้าน

-หมู่ที่1 บ้านบ่อเจ็ดลูก ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

-หมู่ที่2 บ้านปากบาราค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

-หมู่ที่3 บ้านบ่อเกาะบุโหลนค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

-หมู่ที่4 บ้านตะโละใสค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

-หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

-หมู่ที่6 บ้านท่ามาลัยค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

-หมู่ที่7 บ้านท่าพยอม ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คนหมู่ที่1 บ้านบ่อเจ็ดลูกค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง 35 บาทX 30คน= 1,050 บาท

รวมเป็นเงิน7,350บาท

-ค่าวิทยาการ จำนวน 7 ครั้งๆละ 3 ชั่วโมงชั่วโมงละ 600 บาท = 12,600 บาท

-ค่าเรือ ไปกลับเกาะบุโหลน15,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิตมีผู้เข่าร่วมโครงการจัดทำแผน จำนวน 210 คน มี 7 หมู่บ้าน ผลลัพธ์ได้แผนสุขภาพชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
34950.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการสนับสนุนจัดบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการสนับสนุนจัดบริการระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 กิจกรรมย่อย

ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ

ค่าตอบแทน 400 บ x 21 คน x 3 ครั้ง = 25,200 บาท

ค่าอาหารว่าง 35 บ x 21 คน x 3 ครั้ง = 2,205 บาท

2.2 กิจกรรมย่อย

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ

ค่าตอบแทน 300 บ x 51 คน x 3 ครั้ง = 45,900 บาท

ค่าอาหารว่าง 35 บ x 51 คน x 3 ครั้ง = 5,355 บาท

2.3 กิจกรรมย่อย

ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ LTC

ค่าตอบแทน 300 บ x 10 คน x 2 ครั้ง = 6,000 บาท

ค่าอาหารว่าง 35 บ x 10 คน x 2 ครั้ง = 700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 100 ของแผนงาน/โครงการผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
85360.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่ายในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นเงิน 15,000 บาท

ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน คณะกรรมหาร LTC ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 4 ค่าธรรมเนียมและค่าลงทะเบียน

ชื่อกิจกรรม
ค่าธรรมเนียมและค่าลงทะเบียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าธรรมเนียมและค่าลงทะเบียน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน คณะกรรมหาร LTC ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมรายจ่ายเกี่ยวกับค่ารับรองและพิธีการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรายจ่ายเกี่ยวกับค่ารับรองและพิธีการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมรายจ่ายเกี่ยวกับค่ารับรองและพิธีการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาดูงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 6 วัสดุสำนักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์

ชื่อกิจกรรม
วัสดุสำนักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วัสดุสำนักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนสามารถปฎิบัติงานได้อย่างคล่องตัว

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5500.00

กิจกรรมที่ 7 ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารกองทุน

ชื่อกิจกรรม
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารกองทุน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนสามารถปฎิบัติงานได้อย่างคล่องตัว

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3190.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 152,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กองทุนฯ มีการบริหารจัดการหรือพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ และมีผลการประเมินการบริหารจัดการอยู่ในระดับ A หรือ A+

2. ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงกองทุนฯ ทุกกลุ่มวัย และกองทุนฯให้การสนับสนุน และส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ในการจัดบริการสาธารณสุข ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10 ครอบคลุมทุกภาค
ส่วน
3. เกิดนวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน และยั่งยืน

4. กองทุนฯ มีการพัฒนากองทุนฯ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้/ศึกษาดูงานแก่หน่วยงานภายนอก ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

5. กองทุนฯ ได้สนับสนุนให้เกิดธรรมนูญสุขภาพสุขภาพตำบลในพื้นที่

6. กองทุนฯ ได้สนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่


>